Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73888
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิสิต พันธมิตร-
dc.contributor.advisorชูเกียรติ ชัยบุญศรี-
dc.contributor.authorพีรธัช ถนอมจิตร์en_US
dc.date.accessioned2022-08-16T15:03:46Z-
dc.date.available2022-08-16T15:03:46Z-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73888-
dc.description.abstractThe independent study proposes of this research: 1) To analyze the export situation of canned tuna Including the problems and obstacles of the Thai canned tuna industry 2) To study the advantages on comparing the exports of Thai canned tuna products to the main importer market compared with other exporting countries 3) To forecast Thai canned tuna exports using the Arima model. It will predict the trend of canned tuna for 3 years since 2020-2022 which the data used in this study were secondary data, which Thai canned tuna exporting data According to the 6 digits tariff is 160414, which is the annual historical data since 2005-2019 for a total of 15 years. Descriptive Analysis of Revealed Comparative Advantage Index (RCA), Dynamic Revealed Comperative Advantage Index (DRCA) and Arima forecast. The results of the research can be summarized as follows: 1. Thailand had more than 1 comparative advantage over the study period. And had a comparative advantage over all 3 trade competitors which Thailand has a comparative advantage in exporting canned tuna to the main importers of canned tuna in the United States, Australia and Japan. In this case analyzing Thai canned tuna potential showed that Thailand was in a situation "Rising Stars" in the years 2005-2006, 2008-2009, 2011, 2015 and 2018-2019. It is in the situation of "Falling Stars" in 2010, 2012 and 2014 and is in a "Lagging opportunity" situation in 2007, 2013 and 2012..2016-2017 2. The comparison with the actual export value of Thai canned tuna during the 15-year period 2005-2019 found that the actual export data and forecast data are related to each other, tending in the same direction. And forecasts for the export value of canned tuna over a period of three years in 2020-2022 show that Thailand is likely to export more canned tuna.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการวิเคราะห์การส่งออกและความสามารถในการแข่งขันปลาทูน่ากระป๋องของประเทศไทยไปยังตลาดประเทศสำคัญen_US
dc.title.alternativeCompetitiveness exporting analysis Thai-tuna-can to major countries marketsen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashปลาทูน่ากระป๋อง -- การส่งออก-
thailis.controlvocab.thashอุตสาหกรรมปลาทูน่ากระป๋อง-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อวิเคราะห์สถานการณ์การส่งออกผลิตภัณฑ์ทูน่ากระป๋อง รวมถึงปัญหาอุปสรรคของอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ทูน่ากระป๋องของไทย 2) เพื่อศึกษาความได้เปรียบ โดยเปรียบเทียบในการส่งออกผลิตภัณฑ์ทูน่ากระป๋องของไทยไปยังตลาดผู้นำเข้าหลักโดย เปรียบเทียบกับประเทศผู้ส่งออกอื่นๆ และ3) เพื่อทำการพยากรณ์การส่งออกผลิตภัณฑ์ทูน่ากระป๋อง ของไทยโดยใช้แบบจำลองอารีมา โดยจะทำการพยากรณ์แนวโน้มของทูน่ากระป๋อง 3 ปี ตั้งแต่ พ.ศ. 2563-2565 ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาเป็นข้อมูลทุติยภูมิ คือ ข้อมูลการส่งออกทูน่ากระป๋องของไทย ตามพิกัดอัตราภาษีศุลกากร แบบ 6 digits คือ 160414 ซึ่งเป็นข้อมูลย้อนหลังรายปีตั้งแต่ พ.ศ. 2548- 2562 ระยะเวลาทั้งสิ้น 15 ปี วิเคราะห์ข้อมูล โดยวิธีการวิเคราะห์เชิงพรรณนา วิเคราะห์ดัชนีความ ได้เปรียบโดยเปรียบเทียบที่ปรากฏ วิเคราะห์ดัชนีพลวัตรความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบที่ปรากฎ และการพยากรณ์ด้วยแบบจำลองอารีมา ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ประเทศไทยมีค่าความได้เปรียบ โดยเปรียบเทียบ มากกว่า 1 ตลอดระยะเวลาที่ทำการศึกษา และมีค่าความได้เปรียบ โดยเปรียบเทียบมากกว่าทั้ง 3 ประเทศคู่แข่งทางการค้าอย่างต่อเนื่อง ได้แก่ จีน อิน โดนีเชีย และฟิลิปปินส์ นั่นคือ ประเทศไทยมีความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบในการส่งออกทูน่ากระป๋องไปยังตลาดผู้นำเข้าหลักผลิตภัณฑ์ทูน่ากระป๋องทั้งประเทศสหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย และญี่ปุ่น เมื่อวิเคราะห์ศักยภาพในการแข่งขันการส่งออกผลิตภัณฑ์ทูน่ากระป๋องของไทย พบว่าประเทศไทยอยู่ในสถานการณ์ "ดาวรุ่งพุ่งแรง" ในปี พ.ศ. 2548-2549, พ.ศ. 2551-2552, พ.ศ. 2554, พ.ศ.2558 และ พ.ศ.2561-2562 อยู่ในสถานการณ์ "สวนกระแส" ปี พ.ศ. 2553, พ.ศ.2555 และ พ.ศ.2557 และอยู่ในสถานการณ์ "คว้าไม่ทัน" ในปี พ.ศ. 2550, พ.ศ.2556 และ พ.ศ. 2559-2560 2. ผลการเปรียบเทียบกับมูลค่าการส่งออกจริงของทูน่ากระป๋องของไทยในช่วงระยะเวลา 15 ปื ในปี พ.ศ.2548-2562 พบว่า ข้อมูลการส่งออกจริง และข้อมูลจากการพยากรณ์มีความสัมพันธ์กัน โดยมีแนวโน้มเป็นไปในทิศทางเดียวกัน และผลการพยากรณ์ ข้อมูลมูลค่าการส่งออกทูน่ากระป๋อง ในช่วงระยะเวลา 3 ปี ในปี พ.ศ. 2563-2565 พบว่า ประเทศไทยมีแนวโน้มที่จะส่งออกทูน่ากระป๋อง เพิ่มขึ้นen_US
Appears in Collections:ECON: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611632025 พีรธัช ถนอมจิตร์.pdf2.77 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.