Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73884
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอดิศักดิ์ ธีรานุพัฒนา-
dc.contributor.authorชนะภัย สหัสาen_US
dc.date.accessioned2022-08-16T10:20:52Z-
dc.date.available2022-08-16T10:20:52Z-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73884-
dc.description.abstractThis study aimed to evaluate and compare operational efliciency of biomass thermal power plants in Pichit and Kamphaeng Phet provinces by using Data Envelopment Analysis. In this study, data of power plant's operation as obtained from monthly performance reports in the past three years (B.E.2560-2562) of the selected biomass thermal power plants in Pichit and Kamphaeng Phet provinces sorted out by the purposive sampling method, were reviewed. Variables of the study were specified to volume of biomass usage; number of permanent staff, amount of water being used to produce electricity, and operating hours; while the input was identified to volume of electric energy generated. Below were shown the studied results. 1) The power plant no. 2 had the highest level of operational efliciency; followed by the power plants no. 3 and no. 1, in orderly. However, average level of operational elliciency under the constant returns to scale was observed at 0.9118, which implied an inefliciency of power plant's operation in overall. If every power plant could upgrade itself to achieve the operational efliciency, it should be able to reduce its input use in generating the same volume of electricity by 8.82%. On the other hand, with the same volume of input, every power plant could increase its capacity to generate electric power up to 8.82%. In addition, average level of operational efliciency under the variable returns to scale was observed at 0.9591, which implied an inefliciency of power plant's operation in overall. If every power plant could upgrade itself to achieve the operational efliciency, it should be able to reduce volume of input being used to generate the same volume of electric power by 4.09%. Results of the study on scale efficiency indicated that in an overall, the power plants had average level of efliciency at 0.9629. This figure suggested that sale of power plant aflected process of generating electric power. It could also indicate that the electricity generation of the power plants had 3.71% of excess input. If every power plant adjusted its scale to suit for its exact capacity, this incurred excess input would be eliminated. 2) Results of the comparative study on the average level of operational efliciency under the constant returns to scale among the studied power plants indicated that the power plant no. 2 had the highest level of operational efliciency at 0.9503; followed by the power plant no. 3, of which the level of operational efliciency was rated at 0.9342; and the power plant no. 1, of which the level of operational efficiency was rated at 0.8508. Regarding the comparative study on the average level of operational efliciency under the variable retumns to scale among the studied power plants, the findings showed that the power plant no. 2 had the highest level of operational efliciency at 0.9967; followed by the power plant no. 3, of which the level of operational efliciency was raled at 0.9475; and the power plant no. 1, of which the level of operational efliciency was rated at 0.9331. Regarding the comparative study on the scale efficiency among the studied power plants, the results demonstrated that the power plant no. 2 had the highest level of efficiency at 1.0000; followed by the power plant no. 3, of which the efliciency level was rated at 0.9506; and the power plant no. 1, of which the efliciency level was rated at 0.9342.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการใช้การวิเคราะห์ดาต้าเอ็นวิลอปเมนท์ของโรงไฟฟ้าพลังความร้อนที่ใช้เชื้อเพลิงชีวมวล ในจังหวัดพิจิตรและจังหวัดกำแพงเพชรเพื่อประเมินประสิทธิภาพการดำเนินงานen_US
dc.title.alternativeApplying data envelopment analysis by biomass thermal power plants in Phichit and Kamphaeng Phet Provinces to evaluate operational efficiencyen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashโรงไฟฟ้า -- การจัดการ-
thailis.controlvocab.thashโรงไฟฟ้าชีวมวล -- พิจิตร-
thailis.controlvocab.thashโรงไฟฟ้าชีวมวล -- กำแพงเพชร-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้มีวัตถูประสงค์เพื่อประเมินและเปรียบเทียบประสิทธิภาพการดำเนินงานของ โรงไฟฟ้าพลังความร้อนที่ใช้เชื้อเพลิงชีวมวลในจังหวัดพิจิตร และจังหวัดกำแพงเพชร โดยใช้การ วิเคราะห์ดาต้าเอ็นวิลอปเมนท์ เป็นการศึกษาข้อมูลการดำเนินงานของโรงไฟฟ้าพลังความร้อนที่ใช้ เชื้อเพลิงชีวมวลในจังหวัดพิจิตร และจังหวัดกำแพงเพชร โคยใช้การเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง โดยศึกษาจากข้อมูลรายงานผลการดำเนินงานรายเดือน ย้อนหลัง 3 ปี (พ.ศ. 2560-2562) ตัวแปรที่ใช้ ในการศึกษา ได้แก่ ปริมาณการใช้เชื้อเพลิงชีวมวล จำนวนพนักงานประจำ ปริมาณน้ำที่ใช้ในการผลิต ไฟฟ้า ชั่วโมงเดินเครื่อง ส่วนปัจจัยผลผลิต ได้แก่ พลังงานไฟฟ้าที่ผลิตได้ ผลการศึกษาพบว่า 1) โรงไฟฟ้าลำดับที่ 2 มีประสิทธิภาพสูงที่สุด รองลงมาคือ โรงไฟฟ้าลำดับที่ 3 และโรงไฟฟ้ลำดับที่ 1 ตามลำดับ โดยระดับประสิทธิภาพเฉลี่ยภายใด้ผลดอบแทนต่อขนาดคงที่ เท่ากับ 0.9118 ซึ่งหมายความว่า โดยภาพรวมแล้วยังมีความไม่มีประสิทธิภาพ ซึ่งถ้าโรงไฟฟ้ทุกแห่งต้องการยกระดับตนเองให้อยู่ในระดับการผลิตที่มีประสิทธิภาพ โรงไฟฟ้าจะสามารถลดการใช้ปัจจัยการผลิตลดลงได้ถึงร้อยละ 8.82 โดยที่ยังคงสามารถผลิตไฟฟ้าได้ในปริมาณเท่าเดิม หรือในอีกแง่หนึ่ง โรงไฟฟ้าทุกแห่งสามารถเพิ่มผลผลิตได้ร้อยละ 8.82 โดยใช้ปัจจัยการผลิตเท่าเดิม นอกจากนั้น ระดับประสิทธิภาพเฉลี่ยภายใต้ผลตอบแทนต่อขนาดผันแปร เท่ากับ 0.9591 ซึ่งหมายความว่า โดยภาพรวมแล้วยังมีความไม่มีประสิทธิภาพ ซึ่งถ้าทุกโรงไฟฟ้าต้องการยกระดับตนเองให้อยู่ในระดับการผลิตที่มีประสิทธิภาพ โรงไฟฟ้าจะสามารถลดการใช้ปัจจัยการผลิตลงได้ร้อยละ 4.09 โดยที่ยังคงผลิตไฟฟ้าได้ในปริมาณเท่าเดิม ประสิทธิภาพอันเนื่องจากขนาดการผลิต พบว่า ภาพรวมมีระดับประสิทธิภาพเฉลี่ยเท่ากับ 0.9629 หมายความว่า ขนาดการผลิตของโรงไฟฟ้ามีผลต่อกระบวนการผลิตไฟฟ้า และสามารถบอกได้ว่าการผลิตของโรงไฟฟ้ามีการใช้ปัจจัยการผลิตส่วนเกินอยู่ร้อยละ 3.71 ถ้าหากทุกโรงไฟฟ้ามีการปรับเปลี่ยนขนาดการผลิตให้อยู่ในขนาดการผลิตที่เหมาะสม จะสามารถทำให้ส่วนเกินปัจจัยการผลิตส่วนนี้หายไปได้ 2) ในการเปรียบเทียบประสิทธิภาพเฉสี่ยภายใต้ผลตอบแทนต่อขนาดคงที่ พบว่า โรงไฟฟ้า ลำดับที่ 2 มีประสิทธิภาพสูงสุด โดยมีประสิทธิภาพอยู่ในระดับ 0.9503 รองลงมาคือ โรงไฟฟ้าลำดับ ที่ 3 มีประสิทธิภาพอยู่ในระดับ 0.9342 และ โรงไฟฟ้ลำดับที่ 1 มีประสิทธิภาพอยู่ในระดับ 0.8508 นอกจากนั้นการเปรียบเทียบการประสิทธิภาพเฉลี่ยภายใต้ผลตอบแทนต่อขนาดผันแปร พบว่า โรงไฟฟ้ลำดับที่ 2 มีประสิทธิภาพสูงสุด โดยมีประสิทธิภาพอยู่ในระดับ 0.9967 รองลงมาคือ โรงไฟฟ้าลำดับที่ 3 มีประสิทธิภาพอยู่ในระดับ 0.947 และ โรงไฟฟ้าลำดับที่ 1 มีประสิทธิภาพอยู่ใน ระดับ 0.9331 และการเปรียบเทียบประสิทธิภาพอันเนื่องจากขนาดการผลิต พบว่า โรงไฟฟ้าลำดับที่ 2 มีประสิทธิภาพสูงสุด โดยมีประสิทธิภาพอยู่ในระดับ 1.0000 รองลงมาคือ โรงไฟฟ้าลำดับที่ 3 มี ประสิทธิภาพอยู่ในระดับ 0.9506 และ โรงไฟฟ้าลำดับที่ 1 มีประสิทธิภาพอยู่ในระดับ 0.9342en_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611532177 ชนะภัย สหัสา.pdf2.49 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.