Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73876
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorก้องภู นิมานันท์-
dc.contributor.authorศุภชัย จงกิจสมบูรณ์en_US
dc.date.accessioned2022-08-16T10:04:01Z-
dc.date.available2022-08-16T10:04:01Z-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73876-
dc.description.abstractThe purposes of this study were to examine appropriate decision-making factors for scholarship management of the Faculty of Business Administration, Chiang Mai University, and to establish a decision model for scholarship management for business administration. The Faculty of Business Administration, Chiang Mai University, collected data from two sample groups: (1) 31 supervisors or decision-makers in considering scholarships for all 22 faculties of Chiang Mai University, and (2) 100 students receiving a scholarship of the Faculty of Business Administration, Chiang Mai University, in 2020. Descriptive statistics (frequency, percentage, standard deviation, and mean) and inferential statistics (t-test, correlation, and multiple linear regression) were used to analyze the data. The findings revealed that factors effective to the decision for the student scholarship at the Faculty of Business Administration, Chiang Mai University, include 12 factors as follows: 1) annual income of parents or sponsors, 2) occupation of parents or sponsors, 3) annual expenditure of parents or sponsors, 4) part-time work for additional income of scholarship applicants, 5) marital status of parents or scholarship applicants, 6) monthly expenditure of scholarship applicants, 7) household debt, 8) housing condition of scholarship applicants, 9) activities in educational institution of scholarship applicants, 10) previously received or currently receiving scholarship, 11) previously received or currently receiving loan, and 12) skills of scholarship applicants. The forecasting results of the scholarship amount using multiple regression are as follows. Scholarship amount = 4787.451 -+ 244.822 (parents' or sponsors' annual income factor)+ 285.507 (parents' or sponsors' occupational factor)+ 232.092 (parents' or sponsors' annual expenditure) + 333.255 (part-time work factor for additional income of scholarship applicants) + 326.481 (marital status factor of scholarship applicants' parents) +288.547 (monthly expenditure factor of scholarship applicants) +307.703 (household debt factor) +402.317 (scholarship applicants' housing condition factor) +303.781 (activity factor in educational institutions of scholarship applicants) +262.20 5 (factor of previously received or currently receiving scholarship) +305. 770 (factor of previously received or currently receiving loan) +309.389 (skill factor of scholarship applicants). The equation can forecast the scholarship amount at 92.3%.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleตัวแบบการตัดสินใจสำหรับการจัดการทุนการศึกษาของคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeDecision model for scholarship management of Faculty of Business Administration, Chiang Mai Universityen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashทุนการศึกษา-
thailis.controlvocab.thashสถาบันอุดมศึกษา -- การเงิน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยในการตัดสินใจที่เหมาะสมต่อการจัดสรรทุนการศึกษาของคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และเพื่อสร้างตัวแบบในการตัดสินใจให้ทุนการศึกษาของคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม คือ 1.กลุ่มหัวหน้างานหรือสู้มีอำนาจตัดสินใจในการพิจารณาทุนการศึกษาของทั้ง 22 คณะใน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่จำนวน 31 คน และ 2.กลุ่มนักศึกษาที่ได้รับทุนการศึกษาของคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ในปี พ.ศ.2563 จำนวน 100 คน ซึ่งใช้สถิติพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าเฉลี่ย และใช้สถิติอนุมาน ได้แก่ วิธีทดสอบที (t-test) การวิเคราะห์สหสัมพันธ์ (Correlation) และสมการถคถอยพหุคูฌ (Multiple Linear Regression) ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่มีผลกับการตัดสินใจให้ทุนการศึกษาของนักศึกษาบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่มี 12 ปัจจัย ดังนี้ เ.ปัจจัยด้านรายได้ต่อปีของบิดาและมารดา หรือรายได้ของผู้อุปการะ 2.ปัจจัยด้านอาชีพของบิดาและมารดาหรืออาชีพของผู้อุปการะ 3.ปัจจัยด้านรายจ่ายต่อปีของบิดาและมารดาหรือรายจ่ายของผู้อุปการะ 4.ปัจจัยด้านการทำงานพิเศษเพื่อหารายได้เพิ่มเติมของผู้ขอรับทุนการศึกษา 5.ปัจจัยด้านสถานภาพสมรสของบิดามารดาของผู้ขอรับ ทุนการศึกษา 6.ปัจจัยด้านรายจ่ายต่อเดือนของผู้ขอรับทุนการศึกษา 7.ปัจจัยด้านภาระหนี้สินของ ครอบครัว 8.ปัจจัยด้านสภาพที่อยู่อาศัยของผู้ขอรับทุนการศึกษา 9.ปัจจัยด้านการทำกิจกรรมที่ผู้ขอรับทุนได้ทำในสถานศึกษา 10.ปัจจัยด้านทุนการศึกษาที่เคยได้รับหรือกำลังได้รับอยู่ 11. ปัจจัยด้านทุนกู้ยืมที่เคยได้รับหรือกำลังได้รับอยู่ 12.ปัจจัยด้านความสามารถพิเศษของผู้ขอรับทุนการศึกษา ผลการศึกษาการพยากรณ์จำนวนเงินทุนการศึกษาโดยใช้สมการถดถอยพหุคูณ พบว่า จำนวนเงินทุนการศึกษา = 4787.451 + 244.822(ปัจจัยด้านรายได้ต่อปีของบิดาและมารดาหรือรายได้ของผู้อุปการะ) + 285.507(ปัจจัยค้านอาชีพของบิดาและมารดาหรืออาชีพของผู้อุปการะ) + 232.092(ปัจจัยด้านรายจ่ายต่อปีของบิดาและมารดาหรือรายจ่ายของผู้อุปการะ) + 333.255(ปัจจัยด้านการทำงานพิเศษเพื่อหารายได้เพิ่มเติมของผู้ขอรับทุนการศึกยา) + 326.481(ปัจจัยด้านสถานภาพสมรสของบิดามารดาของสู้ขอรับทุนการศึกษา) + 288.547(ปัจจัยด้านรายจ่ายต่อเดือนของผู้ขอรับทุนการศึกษา) + 307.703(ปัจจัยด้านภาระหนี้สินของครอบครัว) + 402.317(ปัจจัยด้านสภาพที่อยู่อาศัยของผู้ขอรับทุนการศึกษา) + 303.781(ปัจจัยด้านการทำกิจกรรมที่ผู้ขอรับทุนได้ทำในสถานศึกษา) +262.205 (ปัจจัยด้านทุนการศึกษาที่เคยได้รับหรือกำลังได้รับอยู่) + 305.770(ปัจจัยด้านทุนกู้ยืมที่เคยได้รับหรือกำลังได้รับอยู่) + 309.389(ปัจจัยด้านความสามารถพิเศษของผู้ขอรับทุนการศึกษา) โดยสมการสามารถพยากรณ์จำนวนเงินทุนการศึกษาได้ร้อยละ 92.3en_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611532104 ศุภชัย จงกิจสมบูรณ์.pdf3.7 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.