Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73855
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทนพร ตรีรัตน์สกุลชัย-
dc.contributor.authorวันวิสาข์ นาสิงห์en_US
dc.date.accessioned2022-08-14T01:18:16Z-
dc.date.available2022-08-14T01:18:16Z-
dc.date.issued2022-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73855-
dc.description.abstractNaoshima Bath’s artwork is a part of the Setouchi Art Triennale on Naoshima Island, Kagawa, Japan. It is a space that offers opportunities to meet a wide variety of people. Naoshima Bath serves as an art installation and a public bathhouse, where people can experience sharing space in the common area. The objective of this research was to study the relationship that has occurred within the locality through the art space "Naoshima Bath" between 2009 – 2019, A.D. Moreover, this research aimed to identify, analyze, and implement the lesson learned on relationship development and management in other local areas such as in Thailand. The results reveal that the Setouchi Art Triennale is influenced by the conditions of world history, international relations, and state policy. The use of public bathhouse space as an artwork allows locals and non-locals to interact within the space for different purposes. This independent study also analyzes the art exhibition in Naoshima Bath created by the artist's imagination. The exhibition presented the local way of life and used various kinds of materials, especially local ones. The study finds that the exhibition did not only provide sharing experiences of art for the people involved, but also created a diverse mental space for them as well. This diversity in this common space led to identity exchange of the individuals as well as built their relationship in the context of conflict and benefit in the social spaceen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleศิลปะกับความสัมพันธ์ในท้องถิ่น: กรณีศึกษา ผลงานศิลปะ "นาโอชิมะ บาธ" ปี พ.ศ.2552 - 2562 ในเทศกาลศิลปะนานาชาติเซโตอุจิ เกาะนาโอชิมะ จังหวัดคากาวะ ประเทศญี่ปุ่นen_US
dc.title.alternativeArt and relationship in local community: A Case study of Naoshima Bath’s artwork between 2009 – 2019, A.D. in Setouchi Art Triennale, Naoshima Island, Kagawa, Japanen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashศิลปะ -- ญี่ปุ่น-
thailis.controlvocab.thashศิลปะกับสังคม -- ญี่ปุ่น-
thailis.controlvocab.thashศิลปกรรม -- นิทรรศการ -- ญี่ปุ่น-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractผลงานศิลปะ “นาโอชิมะ บาธ” เป็นส่วนหนึ่งของเทศกาลศิลปะนานาชาติเซโตอุจิ เกาะนาโอชิมะ จังหวัดคากาวะ ประเทศญี่ปุ่น ถือว่าเป็นพื้นที่ที่เปิดโอกาสในการพบปะผู้คนที่หลากหลาย เพราะโรงอาบน้ำทำหน้าที่เป็นทั้งผลงานศิลปะและโรงอาบน้ำสาธารณะที่ผู้คนสามารถเข้าไปมีประสบการณ์การใช้พื้นที่ร่วมกันได้ การศึกษาครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นภายในท้องถิ่นผ่านพื้นที่ผลงานศิลปะ “นาโอชิมะ บาธ” ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2552 – 2562 และสามารถถอดบทเรียน นำความรู้ไปใช้ในกระบวนการสร้างและจัดการความสัมพันธ์ที่อื่นได้ เช่น ในพื้นที่ท้องถิ่นของประเทศไทย จากผลการศึกษา แสดงให้เห็นว่า การเกิดขึ้นของเทศกาลศิลปะนานาชาติเซโตอุจินั้นมีปัจจัยมาจากด้านเงื่อนไขประวัติศาสตร์โลก ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และนโยบายอำนาจรัฐ การเข้าไปใช้พื้นที่โรงอาบน้ำสาธารณะในฐานะของผลงานศิลปะช่วยเปิดโอกาสให้คนในและนอกท้องถิ่นได้มีปฏิสัมพันธ์ภายในพื้นที่เดียวกันด้วยวัตถุประสงค์ที่แตกต่างกัน การค้นคว้าอิสระนี้ ยังได้วิเคราะห์การจัดแสดงผลงานศิลปะอันเกิดจากการสร้างสรรค์ของศิลปิน ผ่านการนำเสนอภาพวิถีชีวิตในท้องถิ่น และมีการใช้วัสดุที่หลากหลาย รวมถึงวัสดุจากในท้องถิ่น ทำให้ผู้ที่เข้าไปมีประสบการณ์ร่วมกันผ่านกิจกรรมทางศิลปะ มีพื้นที่ทางความคิดแตกต่างกันไป มีการแลกเปลี่ยนอัตลักษณ์กันขึ้นในพื้นที่ และก่อให้เกิดรูปแบบความสัมพันธ์ที่มีทั้งพื้นที่แห่งความขัดแย้ง และพื้นที่แห่งผลประโยชน์en_US
Appears in Collections:HUMAN: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Wanwisa Nasing - WaterMark.pdf3.57 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.