Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73843
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิวาพร ธรรมดี-
dc.contributor.advisorจุฑามาส คุ้มชัย-
dc.contributor.authorกมลดา สุภจันทร์en_US
dc.date.accessioned2022-08-13T07:56:37Z-
dc.date.available2022-08-13T07:56:37Z-
dc.date.issued2021-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73843-
dc.description.abstractChinese kale is an important produce of the Royal Project Foundation. Breeding programs for various characters of the produce were set up. The objectives of this breeding program were to select Chinese kale with 1.00-1.50cm stem diameter and early harvesting date. This selection process had been conducted from November 2015 to August 2018 at the Royal Project Foundation Vegetable Research and Development Station, Mae Rim district, Chiang Mai. Modified Ear to Row to Ear method was done for 4 generations. In the first generation, characterization and distribution of traits in the initial population base on stem shape, stem diameter, and plant height were studied. The plants that meet the stem diameter criteria and have a suitable plant height for harvesting within 15-20 days after transplanting were selected. Each selected plant was then pollinated with mixed pollens from selected plants in the same group. Seeds of each selected plant were collected separately for growing and selection in the next generation. The results showed that average stem diameter and plant height of the base population were 0.52 and 11.94 cm, respectively. The selected plants were divided by the stem shape into 2 groups. When the plants had been selected for 3 generations by modified Ear to Row to Ear method, the offspring of group A (S3A) with very elongated stem had an average stem diameter of 0.76 cm and an average plant height of 12.09 cm. The coefficient of variance values (C.V. = 29.32 and 26.81%) were less than those of the first generation (C.V. = 70.81 and 44.19 %) and the proportion of plants with very elongated stem was higher. The results of the study show that the selection of baby Chinese kale by modified Ear to Row to Ear method for 4 generations earned 8 selected lines with very elongated stem. They had stem diameter and plant height that meet the standard as the extension variety. Moreover, the selected lines had smaller leaves than the extension variety. Thus, the yields after standard post-harvest trimming were not different from that of the extension variety. However, the selection with only two selection criteria made the selected lines had low uniformity of leaf traits. For the next breeding program, S3 -3-2-1, S3 -3-2-2 and S3 -6-2-1 lines should be selected using leaf traits as one criterion to improve uniformity of qualitative characteristics.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการคัดเลือกพันธุ์คะน้าฮ่องกงต้นเล็กโดยวิธีการคัดเลือกต้นต่อแถวต่อต้นประยุกต์en_US
dc.title.alternativeSelection of Baby Chinese Kale by modified ear to row to ear methoden_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashคะน้าฮ่องกง-
thailis.controlvocab.thashคะน้าฮ่องกง -- การปลูก-
thailis.controlvocab.thashคะน้าฮ่องกง -- การเจริญเติบโต-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractคะน้ำฮ่องกงเป็นผลิตผลที่สำคัญอย่างหนึ่งของมูลนิธิโครงการหลวงเพื่อให้ได้ผลิตผลที่หลากหลายขึ้น จึงมีโครงการปรับปรุงพันธุ์คะน้าฮ่องกง เพื่อให้ได้คะน้าฮ่องกงที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางลำต้นขนาด 1.00 - 1.50 ซม. และสามารถเก็บเกี่ยวได้เร็วขึ้น โดยดำเนินงานคัดเลือกพันธุ์ ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2558 ถึง สิงหาคม 2561 ณ สถานีวิจัยและพัฒนาพืชผักโครงการหลวง อ. แม่ริม จ. เชียงใหม่ โดยประยุกต์วิธีการคัดเลือกแบบต้นต่อแถวต่อต้นจำนวน 4 รุ่น รุ่นที่ 1 การศึกษาลักษณะและการกระจายตัวของลักษณะในประชากรเริ่มต้นด้านรูปทรงลำต้น เส้นผ่านศูนย์กลางลำต้น และความสูงของต้น คัดเลือกต้นที่มีลำต้นตามวัตถุประสงค์และมีความสูงของต้นเหมาะสมแก่การเก็บเกี่ยวในช่วง 15 - 20 วันหลังย้ายปลูก จากนั้นผสมเกสรแต่ละต้นที่คัดเลือกด้วยเรณูรวมจากต้นที่คัดเลือกไว้ในกลุ่มเดียวกัน ก็บเมล็ดแยกต้นเพื่อปลูกและคัดเลือกในรุ่นต่อไป ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าประชากรเริ่มต้นมีเส้นผ่านศูนย์กลางลำต้นเฉลี่ย 0.52 เซนติเมตร และมีความสูงของต้นเฉลี่ย 11.94 เซนติเมตร แบ่งกลุ่มคัดเลือกตามลักษณะรูปทรงลำต้นเป็น 2 กลุ่ม หลังจากผ่านการคัดเลือกแล้ว 3 รุ่น พบว่า สายพันธุ์ในกลุ่ม A (S3A) ซึ่งคัดเลือกลักษณะลำต้นเรียวยาว มีเส้นผ่านศูนย์กลางลำต้นเฉลี่ย 0.76 ซม. และมีความสูงของต้นเฉลี่ย 12.00 ซม. มีค่าสัมประสิทธิ์ของความแปรปรวนของลักษณะทั้งสอง (C.V. = 29.32 และ 26.81 %) น้อยกว่าประชากรเริ่มต้น (C.V. = 70.81 และ 44.19 %) และมีสัดส่วนจำนวนต้นที่มีลักษณะเรียวยาวมากขึ้น การคัดเลือกคะน้าฮ่องกงต้นเล็กโดยประยุกต์วิธีการคัดเลือกแบบต้นต่อแถวต่อต้นจำนวน 4 รุ่น สามารถคัดเลือกคะน้าฮ่องกงได้ 8 สายพันธุ์ ที่มีลำต้นเรียวยาว เส้นผ่านศูนย์กลางลำต้น และความสูงของต้นได้มาตรฐานเท่าเทียมกับพันธุ์ส่งเสริมของมูลนิธิโครงการหลวง และ มีลักษณะเด่นที่ขนาดใบเล็กกว่าพันธุ์ส่งเสริม เมื่อตัดแต่งใบหลังเก็บเกี่ยวตามมาตรฐาน มีน้ำหนักผลผลิตไม่แตกต่างกับพันธุ์ส่งเสริม อย่างไรก็ตามการคัดเลือกโดยมีเกณฑ์การคัดเลือกเพียง 2 ลักษณะ ทำให้สายพันธุ์ที่คัดเลือกมีลักษณะใบไม่สม่ำเสมอ ดังนั้นการปรับปรุงพันธุ์ต่อไปควรนำสายพันธุ์ S3-3-2-1, S3-3-2-2 และ S3-6-2-1 ไปคัดเลือกต่อโดยใช้ลักษณะใบประกอบการคัดเลือกด้วย เพื่อเพิ่มความสม่ำเสมอของลักษณะเชิงคุณภาพen_US
Appears in Collections:AGRI: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
560831027 กมลดา สุภจันทร์.pdf2.87 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.