Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73838
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธัญญานุภาพ อานันทนะ-
dc.contributor.authorรัตนพร บินติอินทร์en_US
dc.date.accessioned2022-08-13T06:10:39Z-
dc.date.available2022-08-13T06:10:39Z-
dc.date.issued2021-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73838-
dc.description.abstractThis study aims to develop the readiness assessment model for commercial use of research in the Agro-industry based on a literature review. The assessment criteria can be classified into five categories which are technology readiness, market readiness, commercial readiness, management readiness and intellectual property readiness. A five-point scale is employed for the evaluation of readiness in each category, ranging from the least to the greatest. The Delphi technique is then applied forverifying if the research readiness assessment model. The Item objective congruence (IOC) is also computed for the analysis of the consistency among the experts participating in the Delphi technique. Fifty pieces of research in the Argo-industry from Chiang Mai University’s researchers are selected as case studies and evaluated by employing the readiness assessment model, resulting in four groups of research. Finally, the readiness scores of each group are illustrated in radar and spider charts for further analysis and improvement of commercialization readiness.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการประเมินความพร้อมของงานวิจัยสู่การใช้งานเชิงพาณิชย์ด้านอุตสาหกรรมเกษตรen_US
dc.title.alternativeThe assessment of research readiness for commercialization: research on Argo-industryen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashวิจัย-
thailis.controlvocab.thashโครงการวิจัยและพัฒนา-
thailis.controlvocab.thashอุตสาหกรรมเกษตร -- วิจัย -- การประเมิน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยชิ้นนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนารูปแบบการประเมินความพร้อมในการนำงานวิจัยสู่การใช้งานเชิงพาณิชย์สำหรับงานวิจัยในด้านอุตสาหกรรมเกษตร ในการพัฒนารูปแบบเกณฑ์การประเมินด้วยการทบทวนวรรณกรรม โดยเกณฑ์การประเมินนั้นสามารถแบ่งออกได้เป็น 5 หมวด ได้แก่ ความพร้อมด้านเทคโนโลยี ความพร้อมด้านการตลาด ความพร้อมในเชิงพาณิชย์ ความพร้อมในการจัดการและความพร้อมด้านทรัพย์สินทางปัญญา โดยมีคะแนนความพร้อมในแต่ละหมวดตั้งแต่ 1 -5 ซึ่งจัดเรียงตามความพร้อมจากน้อยที่สุดไปมากที่สุด พร้อมทั้งตรวจสอบแบบประเมินความพร้อมฯ ด้วยเทคนิคเดลฟาย (Delphi technique) และวิเคราะห์ความสอดคล้องของแบบประเมินและวัตถุประสงค์จากการประเมิน โดยผู้เชี่ยวชาญจากค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างแบบประเมินและวัตถุประสงค์ (Item objective congruence: IOC) จากการนำรูปแบบประเมินฯไปใช้ในการประเมินงานวิจัยด้านอุตสาหกรรมเกษตรของนักวิจัยในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่ได้เลือกมาเป็นกรณีศึกษาจำนวน 50 งานวิจัย พบว่าสามารถแบ่งงานวิจัยออกได้เป็น 4 กลุ่ม โดยการใช้เทคนิค Scorecard ตามคะแนนความพร้อมที่ได้จากเกณฑ์การประเมิน เพื่อนำไปใช้วิเคราะห์หาแนวทางในการพัฒนางานวิจัยให้มีความพร้อมในการนำไปใช้ในเชิงพาณิชย์ต่อไปen_US
Appears in Collections:ENG: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
630632095 รัตนพร บินติอินทร์.pdf29.14 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.