Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73837
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิชัย ฉัตรทินวัฒน์-
dc.contributor.authorอติวิชญ์ โตสุทธิศักดิ์en_US
dc.date.accessioned2022-08-13T06:03:44Z-
dc.date.available2022-08-13T06:03:44Z-
dc.date.issued2021-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73837-
dc.description.abstractThis independent research studies the development guideline for Anthocyanin drink from Riceberry rice by applying Quality Function Deployment (QFD). The study consists of the development of Anthocyanin extraction from Riceberry rice and the application of the design of experiment to be 2k with full factorial to obtain the best extraction formula in form of an average of Anthocyanin to dry weight of rice bran. This research surveyed the needs of 100 consumers in Chiang Mai using an online questionnaire with 5 points measuring scale and found that 3 factors of theneed had the same highest score; the product label containing complete information, safety for consumption and standard certification, followed by the benefits to promote health in terms of immunity (with a score of 4.80 and 4.60 respectively). The resulting data was then processed into thedesign and development matrix and found that the selection of the type and quantity and proportion of the feedstock was utmost importance (15.61%), and the type of packaging was the following importance (10.18%). These quality characteristics are typically needed among the drink product and must be given priority so that products can respond to the needs of the consumers excellently. For this independent study, similarly, the development of Anthocyanin from Riceberry rice was applied; using 23 with full factorial experimental, to assist in determining the best Anthocyanin extraction formulation from Riceberry rice in terms of the average of Anthocyanin to rice bran’s dry weight ratio. The experiment was conducted repeatedly twice; the first one used Riceberry bran as a material with 3 factors consisting of citric acid concentration, extraction time and the ratio of solution to raw material (1% (low) and 2% (high) citric acid solution with the time set at 2 hours (low) and 4 hours (high), and the solution to raw material ratio set at 3 (low) and15 (high)), (Note: the solution volume was fixed at 75 mL.) For the second experiment, the citric acid concentration factor and the extraction time were set at the same rate as the previous experiment, but the solution to raw material ratio was adjusted to 10 (low) and 20 (high) (Note: the rice bran’s weight was fixed at 10 g.). Eventually, it was found that the best extraction formula was to control the following factors: the citric acid concentration of 1%, the extraction time of 4 hours and the solution to raw material ratio at 15, and the average Anthocyanin to rice bran’s dry weight was 7.51844 (mg/L)/g-DW.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการวิเคราะห์ปัจจัยการสกัดสารแอนโทไซยานินจากข้าวไรซ์เบอรี่และแนวทางพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มจากสารสกัดen_US
dc.title.alternativeAnalysis of extraction factor of Anthocyanin from Riceberry and development guideline of the extract-based drink producten_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashข้าวไรซ์เบอรี่-
thailis.controlvocab.thashแอนโทไซยานินส์-
thailis.controlvocab.thashเครื่องดื่ม-
thailis.controlvocab.thashรำข้าว-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าอิสระฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อกำหนดแนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มแอนโทไซยานินผงจากข้าวไรซ์เบอรี่ โดยการประยุกต์ใช้เทคนิคการกระจายหน้าที่เชิงคุณภาพ ในการพัฒนาการสกัดสารแอนโทไซยานินจากข้าวไรซ์เบอรี่และการประยุกต์ใช้การออกแบบการทดลองแบบแฟกทอเรียลเต็มรูป 2k เพื่อให้ได้สูตรการสกัดที่ดีในแง่ของอัตราส่วนค่าเฉลี่ยสารแอนโทไซยานินต่อน้ำหนักแห้งของรำข้าว โดยการค้นคว้าอิสระนี้ได้สำรวจความต้องการของผู้บริโภคจำนวน 100 คนขึ้นไป ในจังหวัดเชียงใหม่ โดยใช้แบบสอบถามออนไลน์ และคำถามได้ทำการวัดระดับคะแนนทั้งหมด 5 ระดับ พบว่ามี 3 ปัจจัยความต้องการที่มีค่าระดับคะแนนสูงที่สุดเท่ากัน คือ ฉลากของผลิตภัณฑ์ต้องมีข้อมูลต่างๆ ครบถ้วน, ความปลอดภัยในการบริโภค และได้รับการรับรองมาตรฐาน รองลงมาคือ คุณประโยชน์เพื่อส่งเสริมสุขภาพในด้านภูมิคุ้มกัน โดยมีระดับคะแนน 4.80 และ 4.60 ตามลำดับ ซึ่งข้อมูลที่ได้จะถูกนำไปดำเนินการเข้าสู่เมทริกซ์การออกแบบและพัฒนา พบว่าการเลือกชนิดและปริมาณและสัดส่วนของวัตถุดิบตั้งต้นมีค่าน้ำหนักความสำคัญสูงที่สุด รองลงมาคือ ชนิดของบรรจุภัณฑ์ โดยมีค่าน้ำหนักความสำคัญอยู่ที่ 15.61% และ 10.18% ตามลำดับ หากมีการผลิตเครื่องดื่ม คุณลักษณะทางคุณภาพดังกล่าวจะต้องได้รับความสำคัญมาเป็นลำดับต้นๆ เพื่อให้ผลิตภัณฑ์สามารถตอบสนองต่อความต้องการของผู้บริโภคได้เป็นอย่างดี การพัฒนาการสกัดสารแอนโทไซยานินจากข้าวไรซ์เบอรี่ ได้ประยุกต์ใช้การออกแบบการทดลองแบบแฟกทอเรียลเต็มรูป 23 เพื่อช่วยในการหาสูตรการสกัดสารแอนโทไซยานินจากข้าวไรซ์เบอรี่ที่ดีที่สุดในแง่ของปริมาณอัตราส่วนค่าเฉลี่ยแอนโทไซยานินต่อน้ำหนักแห้งรำข้าว และทำการทดลองซ้ำ 2 ครั้ง การทดลองครั้งที่ 1 ใช้รำข้าวไรซ์เบอรี่เป็นวัตถุดิบตั้งต้น และกำหนดปังจัย 3 ปัจจัยคือ ความเข้มข้นของกรดซิตริก, ระยะเวลาในการสกัด และอัตราส่วนสารละลายต่อวัตถุดิบ โดยกำหนดค่าระดับปัจจัยดังนี้ สารละลายกรดซิตริก ความเข้มข้น 1% (ต่ำ) และ 2% (สูง) กำหนดระยะเวลาในการสกัดสารที่ 2 ชั่วโมง (ต่ำ) และ 4 ชั่วโมง (สูง) และกำหนดอัตราส่วนสารละลายกับวัตถุดิบที่ 3 (ต่ำ) และ 15 (สูง) โคยกำหนดให้ปริมาตรสารละลายคงที่ 75 mL ส่วนการทดลองครั้งที่ 2 ใช้ค่าตัวเลขดั่งเดิมในปัจจัยความเข้มข้นของกรดซิตริกและระยะเวลาในการสกัด แต่ปรับเปลี่ยนค่าระดับปัจจัยของอัตราส่วนสารละลายต่อวัตถุดิบเป็น 10 (ต่ำ) และ 20 (สูง) โดยกำหนดให้น้ำหนักรำข้าวคงที่ 10 g พบว่า สูตรการสกัดที่ดีที่สุดคือการควบคุมปัจจัยดังนี้ ความเข้มข้นกรดซิตริก 1% เวลาในการสกัด 4 ชั่โมง และอัตราส่วนสารละลายต่อวัตถุดิบ 15 จะได้อัตราส่วนค่เฉลี่ยแอนโทไซยานินต่อน้ำหนักแห้งรำข้าวเท่ากับ 7.51844 (mg/L)/g-DWen_US
Appears in Collections:ENG: Independent Study (IS)



Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.