Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73836
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรรถพล สมุทคุปติ์-
dc.contributor.authorวรุตม์ ทิมแพรen_US
dc.date.accessioned2022-08-13T04:18:21Z-
dc.date.available2022-08-13T04:18:21Z-
dc.date.issued2021-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73836-
dc.description.abstractNowadays, there are more smart farming. Because of smart farming can control production to produce the desired output. Moreover, it also helps to manage the production easier because smart farming can control environmental factors as desires and can be made to suit the needs of the produce. Smart farming has one of the factors that need to be controlled is the light factor. By reason of its lighting requires synthetic light from artificial incandescent lamps so we have to select lamps with the correct light value that is suitable for cultivation. There are many types of light values used in agriculture such as Light intensity luminous power and luminous intensity. But the most important value is Photosynthetic Active Radiation because it is a value can indicate that the light factor used indicates the ability of plants to photosynthesize themselves but Photosynthetic Active Radiation sensor is expensive and difficult to buy so this research focused to create a statistic model to analyze factors that suitable for Photosynthetic Active Radiation using techniques Linear regression analysis There are 3 variables which are 1. Temperature 2. Humidity 3. Light intensity. For Linear regression analysis results using a stepwise technique for selecting variables, the results are R2 equal to 96.92% and all three variables influenced to Photosynthetic Active Radiation (PAR). The most influential variables are the light intensity (LUX) value is Coefficient of 2.46, then the temperature with a coefficient of 1.41 and the last one is the humidity with a coefficient of -0.68 so this research can be applied as an alternative to selecting a replacement device for measuring Photosynthetic Active Radiation (PAR)en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อค่ารังสีอาทิตย์ในช่วงความยาวคลื่นที่พืชใช้สังเคราะห์แสงในการปลูกพืชในโรงเรือนen_US
dc.title.alternativeEffective environmental factor to photosynthetic active radiation in greenhouse plantingen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashการสังเคราะห์แสง-
thailis.controlvocab.thashแสงอาทิตย์-
thailis.controlvocab.thashพืช -- การหายใจเชิงแสง-
thailis.controlvocab.thashพืช -- โรงเรือน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractในยุคปัจจุบันมีการทำเกษตรโรงเรือนสมัยใหม่มากขึ้น เนื่องจากการทำเกษตรโรงเรือนสมัยใหม่สามารถควบคุมการผลิตให้ได้ผลผลิตตามที่ต้องการ เพราะว่าการทำเกษตร โรงเรือนสมัยใหม่สามารถควบคุมปัจจัยสภาพแวดล้อมได้ ซึ่งการทำเกษตรโรงเรือนสมัยใหม่มีปัจจัยที่จำเป็นต้องควบคุมหลายอย่างหนึ่งในนั้นคือปัจจัยแสง เนื่องจากการทำเกษตร โรงเรือนสมัยใหม่ต้องอาศัยแสงสังเคราะห์จากหลอดไฟประดิษฐ์ ทำให้ต้องมีการเลือกหลอดไฟที่มีค่าแสงที่เหมาะสมสำหรับการเพาะปลูก ซึ่งค่าแสงที่นำมาใช้ในการเกษตรมีหลายชนิด เช่น ความเข้มแสง ปริมาณแสง และความเข้มข้นของการส่องสว่าง เป็นต้น แต่ค่าที่มีความสำคัญมากที่สุด คือ ค่ารังสีอาทิตย์ในช่วงความยาวคลื่นที่พืชใช้ในการสังเคราะห์แสง (PAR) เนื่องจากเป็นค่าที่ช่วยบ่งบอกว่าปัจจัยแสงที่นำมาใช้นั้นพืชสามารถสังเคราะห์แสงได้หรือไม่ แต่อุปกรณ์ที่ใช้วัดค่ารังสีอาทิตย์ในช่วงความยาวคลื่นที่พืชใช้ในการสังเคราะห์แสง (PAR) นั้นมีราคาที่แพงและหาซื้อได้ยาก การทำวิจัยในครั้งนี้จึงมีจุดประสงค์เพื่อสร้างแบบจำลองพยากรณ์เพื่อช่วยในการวิเคราะห์หาปัจจัยที่เหมาะสมสำหรับค่ารังสีอาทิตย์ในช่วงความยาวคลื่นที่พืชใช้สังเคราะห์แสง โดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์การถดถอยเชิงเสั่น มีตัวแปรทั้งสิ้น 3 ตัวคือ 1) อุณหภูมิ 2) ความชื้น และ 3) ความเข้มแสง สำหรับผลการวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นโดยใช้เทคนิค stepwise ในการเลือกตัวแปร ได้ผลลัพธ์ค่า R2 เท่ากับร้อยละ 96.92 และทั้ง 3 ตัวแปรมีอิทธิพลกับค่ารังสีอาทิตย์ในช่วงความยาวคลื่นที่พืชใช้ในการสังเคราะห์แสง (PAR) ทั้งสิ้น โดยตัวแปรที่มีอิทธิพลมากที่สุดคือ ค่าความเข้มแสง (LUX) ที่มีค่า Coefficient เท่ากับ 2.46 ต่อมาคือค่าอุณหภูมิ (temperature) ที่มีค่า Cocfficientท่ากับ 1.41 และสุดท้ายคือค่าความชื้น (humidity) ที่มีค่า Coefficientเท่ากับ -0.68 โดยงานวิจัยในครั้งนี้สามารถนำไปใช้เป็นทางเลือกในการเลือกใช้อุปกรณ์ทดแทนอุปกรณ์วัดค่ารังสีอาทิตย์ในช่วงความยาวคลื่นที่พืชใช้ในการสังเคราะห์แสง (PAR)en_US
Appears in Collections:ENG: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
630632048 วรุตม์ ทิมแพร.pdf1.65 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.