Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73826
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวีรวรรณ วงศ์ปิ่นเพช็ร์-
dc.contributor.advisorไชยันต์ สกุลศรีประเสริฐ-
dc.contributor.authorสุุกัญญา กำแพงแก้วen_US
dc.date.accessioned2022-08-12T02:19:31Z-
dc.date.available2022-08-12T02:19:31Z-
dc.date.issued2022-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73826-
dc.description.abstractThe objective of this research was to investigate the beliefs regarding relapse to substance abuse at the Probation Office in Chiangrai. A qualitative research design was employed. Likewise, 5 drug relapse addicts in total were selected by a purposive random sampling method. The data was collected through in-depth interview, subsequently analyzed by using a content analysis. The results revealed that irrational beliefs regarding repetitive addictions comprised 1) awfulizing unexpected incidents 2) being easy to flee difficulty and responsibility 3) stronger individual need to rely on 4) being recognized and appreciated by everyone 5) existing of one own fallibility 6) post experience influencing present behaviors 7) being unhappy 8) being happy without assertion or action taking 9) losing of emotional regulation 10) being anxious of awfulizing and 11) reasoning inflexibility. However rational beliefs for non-readdiction were on follows: 1) reasoning of self and other acceptance 2) high frustration tolerance thinking 3) flexibility preference and 4) the belief of awfulizing non-perception. The findings provide understanding of the beliefs system among drug relapse addicts at the Probation office in Chiangrai Additionally, the information could be useful to the office in under to develop individual counseling for the target group.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectIrrational beliefsen_US
dc.subjectRational beliefsen_US
dc.subjectRelapse Substanceen_US
dc.subjectความเชื่อที่ไม่สมเหตุสมผลen_US
dc.subjectความเชื่อที่มีเหตุผลen_US
dc.subjectการเสพติดซ้ำen_US
dc.titleความเชื่อที่เกี่ยวข้องกับการเสพติดซ้ำของผู้ที่เสพติดซ้ำ สำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดเชียงรายen_US
dc.title.alternativeBeliefs about relapse substance abuse by users in Chiangrai Probation Officeen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashคนติดยาเสพติด -- เชียงราย-
thailis.controlvocab.thashคนติดยาเสพติด -- การควบคุม-
thailis.controlvocab.thashการติดยาเสพติด -- เชียงราย-
thailis.controlvocab.thashยาเสพติด -- เชียงราย-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเชื่อที่เกี่ยวข้องกับการเสพติดซ้ำของผู้ที่เสพติดซ้ำสำนักงานคุมประพฤติจังหวัดเชียงราย ใช้รูปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ แบบการศึกษาเฉพาะกรณี กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ติดยาเสพติดที่กลับไปเสพซ้ำ สำนักงานคุมประพฤติจังหวัดเชียงราย จำนวน 5 คน คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า ความเชื่อเกี่ยวกับการเสพติดซ้ำที่ไม่สมเหตุสมผล ได้แก่ ความเชื่อที่ว่า 1) สิ่งต่าง ๆ ไม่เป็นตามคาดหวังจึงนับว่าเป็นเรื่องเลวร้าย 2) เป็นการง่ายที่หนีปัญหาและความรับผิดชอบ 3) เราจำเป็นต้องพึ่งพาผู้อื่นที่เข้มแข็งกว่า 4) จำเป็นต้องได้รับความรักหรือการยกย่องจากทุกคน 5) คิดว่าตัวเองมีข้อผิดพลาด 6) ประสบการณ์ในอดีตส่งผลถึงพฤติกรรมในปัจจุบัน 7) การไร้ความสุข 8) การมีความสุขโดยไม่ต้องออกความคิดเห็นหรือออกแรงทำอะไรเลย 9) ไม่สามารถควบคุมอารมณ์ตัวเองได้ 10) คาดการณ์เหตุการณ์เลวร้ายที่อาจเกิดขึ้นได้ และ 11) เหตุผลไม่ยืดหยุ่น สำหรับความเชื่อที่มีเหตุผลที่ทำให้กลุ่มตัวอย่างไม่หวนกลับไปเสพติดซ้ำ ได้แก่ ความเชื่อที่ว่า 1) ความคิดที่ยอมรับตัวเองและผู้อื่น 2) ความคิดที่ทนต่อความคับข้องใจสูง 3) ความคิดที่ชอบความคิดยืดหยุ่น และ 4) ความคิดที่ไม่มองว่าเป็นสิ่งเลวร้าย ข้อค้นพบที่ได้ทำให้เข้าใจถึงความเชื่อที่เกี่ยวข้องกับการเสพติดซ้ำของผู้ที่เสพติดซ้ำ สำนักงานคุมประพฤติจังหวัดเชียงราย และสามารถนำข้อมูลไปใช้ในการพัฒนา แนวทางการให้การปรึกษาเชิงจิตวิทยารายบุคคลให้แก่ผู้เสพติดซ้ำต่อไปen_US
Appears in Collections:HUMAN: Independent Study (IS)



Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.