Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73721
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปิยพรรณ กลั่นกลิ่น-
dc.contributor.authorศตวรรษ สายบุญen_US
dc.date.accessioned2022-07-25T10:25:42Z-
dc.date.available2022-07-25T10:25:42Z-
dc.date.issued2020-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73721-
dc.description.abstractThe objective of this study was to study relationship between image perception, satisfaction, and revisit intention of Thai customers towards G Shopping Center, Chiang Mai Province. Questionnaires were used to collect data. Quota sampling method was applied to select 420 customers according to periods of time they visited the shopping center. Descriptive statistics used to analyse the data consisted of frequency, percentage, mean and standard deviation. Also Inferential statistics used in this study was multiple regression analysis. The findings showed that most respondents were female, at the age between 21 - 30 years old and held Bachelor’s degree. Their occupation was private company employee. Their average monthly income was 15,001 - 25,000 baht. They visited the shopping center by their own private cars. Service that the participants consumed the most were cinema, purchasing snacks, bakery and dessert. The average cost per time was 301 - 600 baht. They visited the shopping center with friends approximately 1 - 3 times per month, from 01.01 p.m. to 04.00 p.m. The most visited area was at first story. The findings also showed that the shopping center’s image correlated to satisfaction at 0.622 (R = 0.662), and can be explained the variance of the satisfaction at 43.80% (R2 = 0.438), included 3 factors which were the shopping center’s atmosphere, service quality of staff and product sales. The Image correlated to revisit intention at 0.667 (R = 0.667), and could be explained the variance of revisit intention at 44.54 (R2 = 0.445), consisted of 4 factors which were the shopping center’s atmosphere, product sales, location and service quality of staff. In addition, the satisfaction correlated to revisit intention at 0.590 (R = 0.590), and could be explained the variance of revisit intention at 34.90% (R2 = 0.349).en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ภาพลักษณ์ ความพึงพอใจ และความตั้งใจใช้บริการซ้ำของลูกค้าชาวไทย ต่อศูนย์การค้า G จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeRelationship between image perception, satisfaction, and revisit intention of Thai customers towards G Shopping Center, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)-
thailis.controlvocab.thashศูนย์การค้า -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashความพอใจของผู้บริโภค -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashความพอใจของผู้ใช้บริการ -- เชียงใหม่-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ภาพลักษณ์ ความพึงพอใจ และความตั้งใจใช้บริการซ้ำของลูกค้าชาวไทยต่อศูนย์การค้า G จังหวัดเชียงใหม่ เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม เลือกตัวอย่างแบบโควตา (Quota Sampling) ตามช่วงเวลาในการ ใช้บริการรวม 420 ราย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ สถิติเชิงพรรณนา ประกอบด้วย ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน คือ การวิเคราะห์ถดถอยแบบพหุคูณ ผลการศึกษาพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุ 21 - 30 ปี มีการศึกษา ระดับปริญญาตรี อาชีพเป็นพนักงานบริษัทเอกชน รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 15,001 - 25,000 บาท มีพฤติกรรมการใช้บริการคือ เดินทางไปใช้บริการโดยรถยนต์ส่วนตัว บริการที่ใช้มากที่สุด คือ โรงภาพยนตร์ และซื้อขนม เบเกอรี่และของหวาน มีค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อครั้ง 301 - 600 บาท มาใช้บริการ กับเพื่อน มาใช้บริการ 1 - 3 ครั้งต่อเดือน ในเวลา 13.01 - 16.00 น. และนิยมใช้บริการบริเวณ ชั้น 1 ผลการศึกษาพบว่า ภาพลักษณ์มีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจ เท่ากับ 0.622 (R = 0.662) และสามารถอธิบายการผันแปรของความพึงพอใจได้ ร้อยละ 43.80 (R2 = 0.438) ประกอบด้วย 3 ปัจจัย ได้แก่ บรรยากาศของศูนย์การค้า การให้บริการของพนักงาน และการขายสินค้า ภาพลักษณ์ มีความสัมพันธ์กับความตั้งใจใช้บริการซ้ำ เท่ากับ 0.667 (R = 0.667) และสามารถอธิบายการผันแปร ของความตั้งใจใช้บริการซ้ำ ได้ร้อยละ 44.54 (R2 = 0.445) ประกอบด้วย 4 ปัจจัย คือ บรรยากาศของ ศูนย์การค้า การขายสินค้า ทาเลที่ตั้ง และการให้บริ การของพนักงาน และความพึงพอใจ มีความสัมพันธ์กับความตั้งใจใช้บริการซ้ำ เท่ากับ 0.590 (R = 0.590) และสามารถอธิบายการผันแปร ของความตั้งใจใช้บริการซ้ำ ได้ ร้อยละ 34.90 (R2 = 0.349)en_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611532150 ศตวรรษ สายบุญ.pdf2.35 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.