Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73707
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภูมิศักดิ์ เลาวกุล-
dc.contributor.advisorสั่งสม ประภายสาธก-
dc.contributor.authorมธุกานต์ ชาลีฟองen_US
dc.date.accessioned2022-07-23T10:17:11Z-
dc.date.available2022-07-23T10:17:11Z-
dc.date.issued2021-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73707-
dc.description.abstractMandibular first molar is a posterior permanent tooth that first present in the mouth. It frequently requires endodontic treatment due to its anatomy with deep pit and fissures that prone to dental caries and periapical pathology. Increasing age has been observed to change of pulp-dentin complex and root canal morphologies. Understanding age-related changes is essential for successful endodontic and restorative treatments. This study aimed to compare pulp/tooth area ratio and dentin thickness in permanent mandibular first molars in different age groups via one hundred axial Cone-Beam Computed Tomography (CBCT) images. The images were divided into five groups; age 20–29, 30–39, 40–49, 50–59 and 60 years old and older. Pulp/tooth area ratio was determined at 3 levels of each roots; furcation (A), between levels A and C (B), half distance between the furcation and apex of the root (C). Dentin thickness was determined at 2 and 3 mm under furcation by using Image J program. ANOVA was used to determine differences among age groups (p < 0.05). As per our findings, pulp/tooth area ratio was determined to reduce as age increases, showing a significant difference among the age groups at Levels A, B, and C of both roots (p < 0.05). The minimum dentin thickness was found to increase with age, demonstrating a significant difference among the age groups of mesiobuccal and mesiolingual canal (p < 0.05). No statistically significant difference was observed in the mesial dentin thickness of distal canal at 2 and 3 mm under furcation. The results of this study revealed that the pulp canal obliteration and the increasing dentin thickness have been confirmed to be associated with advanced age. Clinically, root canal treatment in old patient should be more concern in locating and negotiating the calcified canals; meanwhile, in young patients, strip perforation must be carefully considered during root canal and post space preparation. Thus, accuracy and reliability of preoperative radiographs play an essential role in evaluating root canal morphologies in order to avoid iatrogenic errors.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการเปรียบเทียบสัดส่วนของโพรงเนื้อเยื่อในฟันต่อเนื้อฟันและความหนาของเนื้อฟันบริเวณง่ามรากฟันของฟันกรามแท้ล่างซี่ที่ 1 ในแต่ละช่วงอายุ โดยใช้ภาพรังสีส่วนตัดอาศัยคอมพิวเตอร์ลารังสีรูปกรวยen_US
dc.title.alternativeComparison of pulp/tooth ratio and dentin thickness in mandibular first molars in different age groups: a CBCT studyen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashทันตกรรม-
thailis.controlvocab.thashทันตกรรมรากฟัน-
thailis.controlvocab.thashคลองรากฟัน-
thailis.controlvocab.thashรากฟัน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractฟันกรามแท้ล่างซี่ที่ 1 มีแนวโน้มได้รับการรักษารากฟันสูง เนื่องจากเป็นฟันแท้ซี่แรกที่ขึ้นในช่องปาก มีลักษณะทางกายวิภาคที่มีหลุมร่องฟันลึกจึงเสี่ยงต่อการเกิดฟันผุและเกิดพยาธิสภาพบริเวณปลายรากฟันได้ง่าย เมื่ออายุมากขึ้นมีการเปลี่ยนแปลงของเนื้อเยื่อในและเนื้อฟัน และลักษณะทางกายวิภาคภายในของรากฟัน การมีความรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวส่งผลต่อความสาเร็จในการรักษารากและการบูรณะฟันหลังการรักษา การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบสัดส่วนของโพรงเนื้อเยื่อในฟันต่อเนื้อฟัน และเปรียบเทียบความหนาของเนื้อฟันบริเวณง่ามรากฟันของฟันกรามแท้ล่างซี่ที่ 1 ในแต่ละช่วงอายุ โดยใช้ภาพระนาบตามแกนจากภาพรังสีส่วนตัดอาศัยคอมพิวเตอร์ ลารังสีรูปกรวยจานวน 100 ภาพ แบ่งกลุ่มตัวอย่างออกเป็น 5 กลุ่ม ได้แก่ 20 - 29 ปี 30 - 39 ปี 40 - 49 ปี 50 - 59 ปี และ 60 ปีขึ้นไป ทาการวัดพื้นที่หน้าตัดของรากฟันเพื่อหาสัดส่วนของโพรงเนื้อเยื่อในฟันต่อเนื้อฟันที่ 3 ระดับ คือ ง่ามรากฟัน (A) กึ่งกลางระหว่างตาแหน่ง A กับ C (B) และกึ่งกลางระหว่างง่ามรากฟันกับปลายรากฟัน (C) และวัดความหนาของเนื้อฟันบริเวณง่ามรากฟันที่ตาแหน่ง 2 และ 3 มิลลิเมตรใต้ต่อง่ามรากฟัน โดยใช้โปรแกรมอิมเมจเจ และใช้สถิติวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวเพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างกลุ่มทดลอง (p < 0.05) ผลการศึกษาพบว่าสัดส่วนของโพรงเนื้อเยื่อในฟันต่อเนื้อฟันของรากใกล้กลางและรากไกลกลาง มีแนวโน้มลดลงเมื่ออายุเพิ่มขึ้นและมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติในแต่ละ ช่วงอายุ (p < 0.05) ที่ตาแหน่ง A B และ C สาหรับความหนาของเนื้อฟันบริเวณง่ามรากฟัน พบว่ามีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเมื่ออายุมากขึ้น โดยความหนาของเนื้อฟันบริเวณง่ามรากฟันของคลองรากแก้มใกล้กลางและคลองรากลิ้นใกล้กลางมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติในแต่ละช่วงอายุ (p < 0.05) แต่ไม่พบความแตกต่างของความหนาของเนื้อฟันบริเวณง่ามรากฟันของรากไกลกลางที่ตาแหน่ง 2 และ 3 มิลลิเมตรใต้ต่อง่ามรากฟัน ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าเมื่ออายุเพิ่มขึ้นจะมีการตีบตันของคลองรากฟันและเนื้อฟันบริเวณง่ามรากฟันมีความหนามากขึ้น การรักษารากฟันในผู้สูงอายุควรระวังในขั้นตอนการหารูเปิดคลองรากและการขยายคลองรากฟัน ส่วนในผู้ป่วยที่มีอายุน้อยควรระมัดระวังการทะลุด้านข้างระหว่างการขยายคลองรากฟันและการบูรณะฟันหลังการรักษา การประเมินลักษณะกายวิภาคของรากฟันและคลองรากฟันจากภาพรังสีก่อนการรักษาเป็นสิ่งสาคัญที่ช่วยป้องกันข้อผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นได้en_US
Appears in Collections:DENT: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610931046 มธุกานต์ ชาลีฟอง.pdf2.31 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.