Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73644
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุมนา จิตติเดชารักษ์-
dc.contributor.advisorพิสัยศิษฏ์ ชัยจรีนนท์-
dc.contributor.authorจันทรชนก จารุรัชต์ธำรงen_US
dc.date.accessioned2022-07-17T07:15:35Z-
dc.date.available2022-07-17T07:15:35Z-
dc.date.issued2021-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73644-
dc.description.abstractPurpose: This study investigated the influence of different surface treatments of PEEK substrate on shear bond strength to resin composite. Methods: A total of 105 PEEK specimens were randomly divided into 5 groups (n = 21/group): (1) no treatment, (2) 98% sulfuric acid etching, (3) sandblasting with 50 |Im alumina oxide particles at a pressure of 0.35 MPa, (4) diode laser treatment and (5) diode laser combined with sandblast treatment. The topography of pretreated PEEK surfaces was observed with scanning electron microscopy. Surface roughness (SR) evaluation was conducted. PEEK surfaces were veneered with resin composite using resin-based adhesive e (Visio.link™ ). Shear bond strength (SBS) between PEEK and resin composite was measured with universal testing machine and failure modes were examined by stereomicroscopy. The SR and SBS data were analyzed statistically with one-way ANOVA an followed by a post hoc Tukey test for SBS data and Dunnett T3 test for SR data at the confidence interval of 95% (  = 0.05). Results: All tested groups exhibited significantly higher SR and SBS values (p<0.05) than the no-treatment group. The PEEK surface after laser treatment followed by sandblast group exhibited the highest mean Ra values. The highest SBS values were found in acid-etched PEEK surfaces (26.08 ± 1.76 MPa) No significant differences in SBS values were observed between acid- etched, sandblast and laser combined with sandblast groups (p>0.05). Conclusion: Sulfuric acid etching, sandblasting, laser irradiation and combination of laser and sandblast improved the adhesive strength between PEEK material and resin composite.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleผลของการปรับสภาพพื้นผิวด้วยวิธีการต่างๆ ต่อค่ากำลังยึดเฉือนระหว่างพอลิอีเทอร์อีเทอร์คีโตนและเรซินคอมโพสิตen_US
dc.title.alternativeEffect of various surface treatments on shear bond strength between polyetheretherketone (PEEK) and resin compositeen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashเรซินทางทันตกรรม-
thailis.controlvocab.thashการยึดติดทางทันตกรรม-
thailis.controlvocab.thashสารยึดติดทางทันตกรรม-
thailis.controlvocab.thashทันตวัสดุ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของการปรับสภาพพื้นผิวด้วยวิธีการต่างๆ ต่อค่ากำลังยึดเฉือนระหว่างพอลิอีเทอร์อีเทอร์ดีโตน (พีอีอีเค) และเรซินคอมโพสิต วิธีการวิจัย ชิ้นงานพีอีอีเค จำนวน 105 ชิ้น สุ่มแบ่งเป็น 5 กลุ่มตามวิธีการเตรียมผิวดังนี้ (1) ไม่ทำการปรับสภาพผิว (กลุ่มควบคุม) (2) ปรับสภาพผิวด้วยกรดซัลฟูริก ความเข้มข้นร้อยละ 98 (3) การเป่าทรายด้วยอนุภาคอะลูมินัมออกไซด์ ขนาด 50 ไมครอน ที่ความดัน 0.35 เมกะปาสคาล (4) การใช้ไดโอดเลเซอร์ (5) การไดโอดใช้เลเซอร์ควบคู่กับการเป่าทราย ภายหลังการเตรียมผิวด้วยวิธีต่างๆ นำชิ้นงานไปศึกษาลักษณะทางสัญฐานวิทยาของพื้นผิวพีอีอีเคด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด วิเคราะห์ความขรุขระผิว จากนั้นยึดติดพื้นผิวพีอีอีเคกับเรซินคอมโพสิตร่วมกับการใช้สารยึดติดเรซินวิซิ โอลิงก์ ศึกษาค่ากำลังยึดเฉือนระหว่างพีอีอีเคและเรซินคอมโพสิต จากนั้นตรวจสอบลักษณะความล้มเหลวของการยึดติดภายใต้กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสงสเตอริโอ นำค่าเฉลี่ยความขรุขระผิวและค่ากำลังยึดเฉือนที่ได้ของแต่ละกลุ่มมาวิเคราะห์ทางสถิติชนิดแปรปรวนทางเดียว และนำมาเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างกลุ่มด้วยการเปรียบเทียบเชิงซ้อนด้วยวิธีทูกีย์ (ค่ากำลังยึดเฉือน) และวิธีดันเนตต์ (ค่ความขรุขระผิว) ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 (p<0.05) ผลการศึกษา ชิ้นงานพีอีอีคที่ได้รับการปรับสภาพผิวทุกกลุ่มมีค่าเฉลี่ยกำลังยึดเฉือนและค่าเฉลี่ยความขรุขระผิว มากกว่ากลุ่มที่ไม่ได้ทำการปรับสภาพผิวอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) กลุ่มที่ใช้เลเซอร์ควบคู่กับการเป่าทรายมีค่าเฉลี่ยความขรุขระผิวสูงที่สุด และพบค่าเฉลี่ยกำลังยึดเฉือนสูงที่สุดในกลุ่มที่เตรียมผิวด้วยกรดซัลฟูริก (26.08 ± 1.76 เมกะปาสคาล) โดยค่าเฉลี่ยกำลังยึดเฉือนของกลุ่มที่ใช้กรคซัลฟูริก การเป่าทราย และการใช้เลเซอร์ร่วมกับการเป้าทรายมีค่าไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ สรุปผลการศึกษา การใช้กรดซัลฟูริกความเข้มข้นร้อยละ 98 การเป้าทราย การใช้เลเซอร์ และการใช้เลเซอร์ควบคู่กับการเป่าทราย ร่วมกับการใช้สารยึดติดที่มีส่วนผสมของมอนอเมอร์เมทิลเมทาคริเลต เป็นวิธีการปรับสภาพผิวพีอีอีเกที่สามารถใช้พิ่มคำการยึดติดกับวัสดุเรซินกอมโพสิตได้en_US
Appears in Collections:DENT: Theses



Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.