Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73640
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorก้องภู นิมานันท์-
dc.contributor.authorวนิดา เชื้อคาฟูen_US
dc.date.accessioned2022-07-16T07:20:31Z-
dc.date.available2022-07-16T07:20:31Z-
dc.date.issued2021-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73640-
dc.description.abstractThis independent study aims to improve the workflow to enhance efficacy of services at general administration section, the center for the promotion of arts and culture office, Chiang Mai University, using Kaizen concept. The study population were 13 supply officers of the center whose data had been collected for 8 months in 2 phases. Phase 1 was during April 2019 to July 2019, prior to improvement while Phase 2 was during October 2019 to January 2020, after improvement. The study tools include 1. Work Process Diagram 2. Workflow Diagram 3. Swimlane Diagram 4. Process Chart 5. Check Sheet 6. Pareto Diagram 7. 5W 1H questioning approach 8. Value Analysis 9. E-C-R-S work improvement techniques. The data were analyzed by using both qualitative analysis and quantitative analysis. The study found that the working processes of supply unit selected for improvement which comprised of main activities and sub activities in procurement with small budget of less than 100,000 baht using specific methods were decreased from 5 main activities and 19 sub activities to 4 main activities and 14 activities, respectively. In other words, 1 main activity and 5 sub activities were lessened. The average time of the working process was decreased by 39.66%, exceeding the target of 30%. The study results indicated that the workflow improvement to enhance the efficacy of services using Kaizen concept could be practically implemented as well as enhance proper time management and efficient services at general administration section, the center for the promotion of arts and culture office, Chiang Mai University. This could also be applied as a guideline for improving the workflow to enhance efficacy of services at other working units accordingly.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการปรับปรุงกระบวนการทำงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการของงานบริหารทั่วไป สำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeWorkflow improvement to enhance efficiency of services at general administration section, the center for the promotion of Arts and Culture office, Chiang Mai universityen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashไคเซ็น-
thailis.controlvocab.thashการจัดการองค์การ-
thailis.controlvocab.thashการทำงาน-
thailis.controlvocab.thashมหาวิทยาลัยเชียงใหม่.สำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงกระบวนการทำงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการของงานบริหารทั่วไป สำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยใช้หลักการแนวคิดไคเซ็น ประชากรในการศึกษาครั้งนี้ศึกษาจากประชากรทั้งหมด คือ เจ้าหน้าที่พัสดุสำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จำนวน 13 ราย โดยการเก็บข้อมูล จำนวน 8 เดือน โดยแบ่งออกเป็น 2 ช่วง ช่วงที่ 1 ระยะก่อนการพัฒนา ตั้งแต่เดือนเมษายน 2562 ถึงเดือนกรกฎาคม 2562 ช่วงที่ 2 ระยะหลังการพัฒนา ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 ถึงเดือนมกราคม 2563 เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ 1. ผังการไหลในกระบวนการ (Work Process Diagram) 2. แผนภาพไดอะแกรมการไหลของกระบวนการ 3. แผนภาพสวิมเลน (Swimlane) 4. แผนภูมิกระบวนการ (Process Chart) 5. แผ่นรายการตรวจสอบ (Check Sheet) 6. แผนภาพพาเรโต (Pareto Diagram) 7. ระบบคำถาม 5W 1H 8. การวิเคราะห์คุณค่า (Value Analysis) 9. เทคนิคการปรับปรุงงานหลัก E-C-R-S วิเคราะห์ข้อมูลใช้เทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Analysis) และเทคนิคการวิเคราะห์ ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative analysis) ผลการศึกษาพบว่า กระบวนการด้านพัสดุที่คัดเลือกมาปรับปรุงกระบวนการมีจำนวนกิจกรรมหลักและกิจกรรมย่อยในกระบวนการจัดหาพัสดุ โดยวิธีเฉพาะเจาะจง วงเงินเล็กน้อยไม่เกิน 100,000 บาท ลดลงจาก 5 กิจกรรมหลัก 19 กิจกรรมอย เหลือ 4 กิจกรรมหลัก 14 กิจกรรมย่อย คิดเป็นการลดลงของกิจกรรมหลัก 1 กิจกรรม และกิจกรรมย่อย 5 กิจกรรม ร้อยละของเวลาเฉลี่ยรวมในกระบวนการลดลงร้อยละ 39.66 เกินจากเป้าหมายที่ได้กำหนดไว้คือร้อยละ 30 ผลการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า การปรับปรุงกระบวนการทำงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการ โดยใช้หลักการแนวคิดไคเซ็นสามารถนำไปใช้ได้จริง ลดการใช้เวลาขององค์กร ได้กระบวนการทำงานที่สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการของงานบริหารทั่วไป ด้านพัสดุ สำนักส่งสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และได้แนวทางในการปรับปรุงกระบวนการทำงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการกับหน่วยงานอื่นได้en_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
591532294 วนิดา เชื้อคำฟู.pdf4.08 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.