Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73631
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorBudsara Limnirankul-
dc.contributor.advisorChanchai Sangchyoswat-
dc.contributor.advisorPrathanthip Kramol-
dc.contributor.authorPriyanud Chuensinen_US
dc.date.accessioned2022-07-16T03:01:11Z-
dc.date.available2022-07-16T03:01:11Z-
dc.date.issued2021-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73631-
dc.description.abstractFarmer in Na Noi district, Nan province has been practiced monoculture since 1993. Farmers have expanded planted area in the forest area. It reflected to their economy, which relied on a few crops, especially maize and rubber tree. Farmers needed less farm management. Current situation showed that, sustainability of farmer livelihood due to rely on external farm output. Although, they have worried about low soil fertility, soil erosion, and health risk from agrochemical. The objectives are 1) to classify farming typology and explore its’ livelihood assets on the highland in Na Noi district, Nan province, 2) to identify enabling factors of alternative farming adoption on the highland of Na Noi district, Nan province, and 3) to assess sustainable alternative farming on the highland of Na Noi district, Nan province. The research methods applied both qualitative and quantitative. First, key informant interviewing to understand society, economy, and natural resources. Using these sets of data to design questionnaires. Sustainable livelihood assets framework applied into study. Next, focus group discussion worked with farmers of seven sub-districts to make a rich picture of alternative farming. Taro (Yamane, 1973) defined the amount of sample, which included 222 samples. The household samples who do alternative farming on the highland of Na Noi district, Nan province for 2015-2018 years. There covered vulnerability, livelihood assets (human assets, social assets, financial assets, physical assets, and natural assets), transformation structure and process, livelihood strategies and livelihood outcome. The theory of change also used to identify the enabling factors of starting the alternative farming on the highland of Na Noi district, Nan province . Finally, farm sustainability assessed by sustainable development framework, which involved the human, economy, and environment. This research found that, farmers reduced maize farming system on the highland into three alternative farm types as follows, 1) maize and rubber tree were the commercial farm (56 households), 2) maize, rubber tree and integrated farming which were the part-commercial farm (153 households), and 3) part-commercial farm which is integrated farming (13 households). Comparing their livelihood assets described problems and empowerment of farmers to adopt different farm types. Firstly, farmers have well accessibility of natural assets. But secondly, farmers of the part-commercial farm (T2, T3) have better human assets than commercial farm (T1). Thirdly, the livelihood assets needed to push better reaching for three farm types such as the physical assets because their infrastructures did not facilitate them to manage alternative farm. Moreover, internet should available to access consumer and online market. Fourthly, the financial assets also the most deserve to provide them because they have low accessibility of revolving fund and got less supporting of substitution inputs. Finally, they also have low social assets contribution, especially farmer associations in agriculture because they did not get the benefit and involved farmer group. Meanwhile, data analysis of theory of change showed enabling factors to start alternative farming system on the highland. Six enabling factors included 1) policy of sustainable agriculture, 2) check chemical blood test to make awareness, 3) role models and community leaders, 4) irrigation system, 5) farmer groups, and 6) alternative market. Meanwhile, most factors affecting to adopt alternative farming system, which was economic factors. Economic factors included high farm income, low investment, and health from having own household food. This may useful to guideline associated organization in the area for promoting and enabling farmer to adopt in alternative farming. Moreover, the study of sustainability found that, they have different levels of sustainability, which practices in three alternative farming system showed the highest social sustainability. Next, the environment and economy are respectively. However, the sustainability of profitability is important to continuously reduce maize planted area on the highland of Na Noi district, Nan province. Therefore, it is importance to stimulate related farmers while, promoting sustainable practices on the highland. To make sure that farmers will continuously to sustainable practices.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleLivelihood assets and enabling factors contributing to sustainable alternative farming in highland of Na Noi district, Nan provinceen_US
dc.title.alternativeทุนในการดำรงชีพและปัจจัยที่สนับสนุนการทำเกษตรทางเลือกที่ยั่งยืนบนพื้นที่สูงในอำเภอนาน้อย จังหวัดน่านen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashSustainable agriculture -- Nan-
thailis.controlvocab.thashAlternative agriculture -- Nan-
thailis.controlvocab.thashAgriculture-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractเกษตรกรจังหวัดน่านได้มีการปลูกพืชเชิงเดี่ยว ซึ่งเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิตตั้งแต่ปี พ.ศ. 2533 ถึงปัจจุบัน โดยพบว่ามีการขยายพื้นที่เพาะปลูกเข้าไปในพื้นที่ป่ามากขึ้นส่งผลให้ด้านเศรษฐกิจที่ต้องพึ่งพาพืชเชิงเดี่ยว โดยเฉพาะข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และยางพารา บนพื้นที่ดอนอาศัยน้ำฝน เนื่องจากมีการจัดการแปลงง่าย นอกจากนี้ในสถานการณ์ปัจจุบันพบว่าการดำรงชีพของเกษตรกรส่งผลต่อความยั่งยืนระบบการผลิตที่มีการพึ่งพาปัจจัยภายนอกเกษตรกรจะมีความกังวลต่อสภาพพื้นที่ดินเสื่อมโทรม การพังทลายของดิน และความเสี่ยงของสุขภาพจากการใช้สารเคมีปริมาณสูง ซึ่งผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และเศรษฐกิจ ทำให้มีหลายหน่วยงานเข้ามามีบทบาทในการส่งเสริมการทำระบบเกษตรที่ยั่งยืนบนพื้นที่ ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงทำการศึกษาตามวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษารูปแบบการผลิตและสำรวจทุนและศักยภาพของเกษตรบนพื้นที่สูงอำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน 2) เพื่อระบุปัจจัยสนับสนุนที่มีผลต่อการยอมรับระบบเกษตรทางเลือกบนพื้นที่สูงอำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน และ 3) เพื่อประเมินความยั่งยืนของระบบเกษตรทางเลือกบนพื้นที่สูงอำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน โดยการสัมภาษณ์เกษตรผู้รู้ ผู้นำชุมชน และนักพัฒนาชุมชน เพื่อเข้าใจบริบททางสังคม เศรษฐกิจ และทรัพยากรธรรมชาติ และจัดประชุมกลุ่มตัวแทนเกษตรกร 7 ตำบล เพื่อเข้าใจการเปลี่ยนแปลงระบบเกษตร และนำข้อมูลไปออกแบบคำถามในการเก็บข้อมูลระดับครัวเรือน จำนวน 222 ครัวเรือนที่มีการปรับเปลี่ยน ระบบเกษตรทางเลือกในปี พ.ศ. 2015-2018 โดยใช้การวิเคราะห์ข้อมูลในเชิงพรรณนาและเชิงปริมาณตามแนวคิดทุนและศักยภาพในการดำรงชีวิตอย่างยั่งยืน ประกอบด้วย ความเปราะบาง ทุนในการดำรงชีวิต ด้าน (ด้านมนุษย์ สังคม เศรษฐกิจ กายภาพ และสิ่งแวดล้อม) บริบทเชิงสถาบันและนโยบาย ยุทธศาสตร์การดำรงชีพ และผลของการดำรงชีพ นอกจากนี้นำทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงมาวิเคราะห์ปัจจัยสนับสนุนในการเปลี่ยนรูปแบบการผลิต และการประเมินแนวโน้มความยั่งยืน ของระบบเกษตรทางเลือกตามแนวคิดการพัฒนาอย่างยั่งยืนในด้านมนุษย์ เศรษฐกิจ และสังคม จากการวิเคราะห์ข้อมูลเกษตรกรบนพื้นที่สูง อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน พบว่า เกษตรกรปรับเปลี่ยนมาทำระบบเกษตรยั่งยืนบนพื้นที่สูงใน 3 รูปแบบ จากการลดพื้นที่ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เชิงเดี่ยว ดังนี้ 1) ระบบเกษตรเชิงพาณิชย์ ที่มีข้าวโพดเลี้ยงสัตว์และยางพารา จำนวน 56 ครัวเรือน 2) ระบบเกษตรกึ่งพาณิชย์ ที่มีข้าวโพดเลี้ยงสัตว์และยางพาราเป็นหลัก และระบบเกษตร จำนวน 153 ครัวเรือน 3) ระบบเกษตรกึ่งพาณิชย์ เกษตรผสมผสาน จำนวน 13 ครัวเรือน ผลการเปรียบเทียบทุนในการดำรงชีวิต 5 ด้านกับระบบเกษตรทางเลือกมีความแตกต่างกัน โดยข้อมูลของทุนในการดำรงชีวิตอย่างยั่งยืนอธิบายปัญหาและศักยภาพในการปรับเปลี่ยนรูปแบบการผลิต ทางเลือกบนพื้นที่สูงในอำเภอนาน้อยแตกต่างกัน โดยเกษตรกรทั้ง 3 กลุ่มสามารถเข้าถึงทุนทรัพยากรธรรมชาติได้ดี เกษตรกรกรที่มีรูปแบบการผลิตกึ่งพาณิชย์มีทุนด้านมนุษย์ที่ดีกว่ารูปแบบการผลิตเชิงพาณิชย์ เนื่องจากเกษตรกรมีความรู้และประสบการณ์การผลิตพืชและสัตว์หลายชนิด แต่เกษตรกรต้องการเข้าถึงทุนด้านกายภาพเพราะทรัพยากรด้านกายภาพ ที่มีอยู่นั้นยังไม่เอื้ออำนายต่อการดำรงชีวิตและการจัดการระบบเกษตรทางเลือกมากเช่น ระบบคมนาคม ขนส่งสินค้ารวมถึงการใช้สัญญาณอินเทอร์เน็ตเพื่อเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร ลูกค้า ตลาดออนไลน์ ส่วนการเข้าถึงทุนด้านการเงินยังไม่ทั่วถึง เช่น การอุดหนุนปัจจัยการผลิตไม่ทั่วถึง และการเข้าถึงสินเชื่อดอกเบี้ยต่ำ และทุนทางสังคมของเกษตรกรนั้น เกษตรมีส่วนร่วมกับสังคมเพื่อพัฒนาการเกษตรน้อย นอกจากนี้ยังพบว่ามี 6 ปัจจัยสบับสนุนที่ผลักดันให้เริ่มต้นทำระบบเกษตรทางเลือกที่ยั่งยืน ได้แก่ 1) นโยบายการส่งเสริมระบบเกษตรยั่งยืน 2) การตรวจเลือดวิเคราะห์สารเคมีตกค้างในเลือดเพื่อสร้างการรับรู้และความตระหนัก 3) เกษตรกรผู้รู้และผู้นำชุมชนในการเป็นแบบอย่างของความสำเร็จ 4) ระบบน้ำเพื่อการเกษตรที่เพียงพอต่อการผลิต 5) กลุ่มเกษตรกร และ 6) การเข้าถึงตลาดทางเลือก ในขณะเดียวกับพบว่าปัจจัยด้านเศรษฐกิที่ต้องการให้ระบบเกษตรทางเลือกบนพื้นที่สูง สร้างรายได้ที่เพียงพอ ต้นทุนการผลิตต่ำ และด้านสุขภาพ ที่มาจากการบริโภคอาหารที่ดีส่งผลต่อการตัดสินใจของเกษตรกรมากที่สุด จึงเกิดแนวทางในการทำงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้ามามีบทบาทหลังจากที่เกษตรกรเปลี่ยนแนวคิด ซึ่งการพัฒนาในพื้นที่สามารถนำปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องไปวางแผนและพัฒนาในผู้ที่มีบทบาทเกี่ยวข้องต่อไป โดยเฉพาะการสร้างทัศนคติของเกษตรกรในการปรับต่อต่อการทำเกษตรเชิงเดี่ยวเมื่อวิเคราะห์ผลกระทบภายหลังจากการทำระบบเกษตรทางเลือกบนพื้นที่สูง ตามกรอบแนวคิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน ซึ่งมีปังจัยด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม และด้านสิ่งแวดล้อม พบว่าเกษตรกร ทั้ง 3 กลุ่ม มีความยั่งยืนด้าน สังคมมากที่สุด รองลงมาคือด้านสิ่งแวดล้อม และด้านเศรษฐกิจตามลำดับ ซึ่งหากเกษตรกรมีระดับความยั่งยืนด้านเศรษฐกิจน้อยที่สุด จะส่งผลต่อการตัดสินใจต่อการขยายพื้นที่ทำการเกษตรเชิงเดี่ยวหรือข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ตามเดิม ดังนั้น แนวทางการสร้างความตระหนักร่วมกับปัจจัยสนับสนุนต่างๆ ควรจะมีการสนับสนุนให้เกิดการปรับตัวเพื่อเปลี่ยนแปลงควบคู่กับการพัฒนาระบบเกษตรทางเลือกในด้านเศรษฐกิจ เพื่อให้เกษตรกรสามารถพึ่งพาตนเองได้จากระบบเกษตรที่ยั่งยืนen_US
Appears in Collections:AGRI: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
590835902 Priyanud Chuensin.pdf4.26 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.