Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73624
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดำรงศักดิ์ รินชุมภู-
dc.contributor.authorวรนันท์ อิ่มโอษฐ์en_US
dc.date.accessioned2022-07-13T00:29:56Z-
dc.date.available2022-07-13T00:29:56Z-
dc.date.issued2021-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73624-
dc.description.abstractThe business model of the house construction firm that is currently studying at present, the firm has no clear business model and also lack of gathering opinions and suggestions from internal staff in order to improve products and services to maximize customer value. Therefore, the objective is to using the business model canvas to guide business operation of house construction firm by conducting group discussions of employees in company that operates house construction business in Chiang Mai and Lamphun by using the business model canvas, SWOT analysis, and Likert's scale. The results of this study contribute to understanding the 9 business components that should be improved to suit the constraints of the organization. The results of the situation analysis and the business practices of the organization that will be adapted in the future of the house construction firm this time brings an opportunity to improve the cost structure and revenue streams when compared to the original business components at present. Finally, the benefits of this study are the business operation using business model canvas approach and the integration of ideas from the group discussion to find business components that appropriate for work including the opportunity to discover new forms of value that can be delivered to customers in the future.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการใช้แผนผังแบบจำลองธุรกิจเพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินธุรกิจของบริษัทรับสร้างบ้านen_US
dc.title.alternativeUsing the business model canvas to guide business operation of house construction firmen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashบ้าน -- การออกแบบและการสร้าง-
thailis.controlvocab.thashการสร้างบ้าน -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashการสร้างบ้าน -- ลำพูน-
thailis.controlvocab.thashที่อยู่อาศัย -- การออกแบบและการสร้าง-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractรูปแบบการดำเนินธุรกิจของบริษัทรับสร้างบ้านที่กำลังศึกษาในปัจจุบัน เป็นบริษัทที่ยังไม่มีรูปแบบองค์ประกอบทางธุรกิจที่ชัดเจน อีกทั้งยังขาดการรวบรวมความคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากพนักงานภายในบริษัทเพื่อนำมาปรับปรุงสินค้า และบริการให้เกิดคุณค่าสูงสุดต่อลูกค้า จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อนำแผนผังแบบจำลองธุรกิจมาใช้เป็นแนวทางในการคำเนินธุรกิจของบริษัทรับสร้างบ้าน โดยใช้การทำสนทนากกุ่มของพนักงานในบริษัทที่ประกอบธุรกิจรับออกแบบสร้างบ้านในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่และลำพูน จำนวน 1 ครั้ง โดยใช้แผนผังแบบจำลองธุรกิจ การวิเคราะห์จุดแข็งจุดอ่อน อุปสรรค โอกาส และมาตราวัดแบบลิเคิร์ท ผลจากการศึกษาในครั้งนี้ทำให้ทราบถึง องค์ประกอบทางธุรกิจที่ควรปรับปรุงให้เหมาะสมกับข้อจำกัดขององค์กรมากขึ้นในทั้ง 9 ด้านตัวอย่างเช่น การเพิ่มระบบบ้านอัจฉริยะในหมวดการนำเสนอคุณค่า การเพิ่มกลุ่มลูกค้าที่ต้องการปรับปรุงอาคารทั้งเพื่ออยู่อาศัยและประกอบธุรกิจในหมวดกลุ่มลูกค้า การปรับปรุงการอำนวยความสะดวกในหมวดความสัมพันธ์กับลูกค้า การเพิ่มการใช้เทคโนโลยีระบบสารสนเทศอาคารสำหรับงานสร้างบ้าน ในหมวดกิจกรรมหลัก การพัฒนาศักยภาพของพนักงานเดิม ในหมวดทรัพยากรหลัก การเพิ่มตัวเลือกด้านเทคโนโลยีการก่อสร้างและวัสดุแก่ลูกค้า ในหมวดคู่กันที่สำคัญต่อธุรกิจ ซึ่งผลการวิเคราะห์สถานการณ์ และวิธีการดำเนินธุรกิจขององค์กรที่จะนำมาปรับใช้ในอนาคตครั้งนี้นำมาซึ่งโอกาสทำให้โครงสร้างต้นทุน และกระแสรายได้ดีขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับองค์ประกอบทางธุรกิจเดิมในปัจจุบัน อีกทั้งประโยชน์ที่ได้รับจากการศึกษาครั้งนี้คือรูปแบบแนวทางการดำเนินธุรกิจด้วยแผนผังแบบจำลองธุรกิจ และได้แนวทางการบูรณาการความคิดจากการทำสนทนากลุ่มเพื่อหาองค์ประกอบทางธุรกิจที่เหมาะสมกับการทำงาน รวมถึงโอกาสที่จะพบคุณค่ารูปแบบใหม่ที่สามารถส่งมอบให้กับลูกค้าได้ในอนาคตen_US
Appears in Collections:ENG: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610632073 วรนันท์ อิ่มโอษฐ์.pdf3.86 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.