Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73617
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปิยพรรณ กลั่นกลิ่น-
dc.contributor.authorภูมิ ผลดีen_US
dc.date.accessioned2022-07-10T13:28:07Z-
dc.date.available2022-07-10T13:28:07Z-
dc.date.issued2020-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73617-
dc.description.abstractThis independent study aimed to investigate behavior of lovers in Chiang Mai province towards purchasing couple products. Research population involved a group of male-female lovers; male-male lovers; and female-female lovers who bought the couple products in Chiang Mai. Since the number of research population could not be exactly specified, this study decided to collect data from the 3 groups of lovers consisting of 100 samples each, which were 300 samples in total. Statistics namely frequency, means, and inferential statistics i.e. Chi-square and ANOVA were applied to analyze differences between research sample groups. Results of the study presented that most respondents were 23 30 years old and earned monthly income at the average amount of 15,001 30,000 Baht. They graduated with bachelor’s degree and worked as employee of private company. The couple products that they purchased included T-shirt as a product item in clothing category and watch as a product item in ornament category. In each time, they bought these products in pieces (separated items) for 2 3 pieces and spent less than 1,000 THB for them. Reason of buying these products was to be a symbol of love. Person influencing their buying decision the most was the respondents themselves. They generally bought the couple products on special occasions and bought them from a shop in a department store during weekend: Saturday and Sunday and holiday at the beginning of the month. They searched for product information through online channel. Important factor affecting their purchase was the high quality of product which allowed them to use it for the long period. They normally took turns with their couple to pay for the product. At the post-buying stage, they highly satisfied with the couple products and tended to recommend friends or acquaintances to buy them. According to the comparative analysis of behavior differences between different groups of lovers, the results were presented as follows. (1) Reason of buying the couple products for the group of male-female lovers was to represent the couple’s identity and to be a symbol of love; while the reason of buying the studied products for the groups of male-male lovers and the female-female lovers was to be a symbol of love. 2) The most important factor influencing buying decision of the groups of male-female lovers and female-female lovers was the high qualities of product such as good quality of fabric, good quality of material, good quality of parts, which allowed the buyers to use that product for the long period; while the most important factor influencing buying decision of the group of male-male lovers was the product with beautiful and modern figure, pattern, design, and colors. (3) The groups of male-female lovers and male-male lovers limited the budget for each purchase at 1,000-2,000 THB; while the group of female-female lovers limited the budget for each purchase at less than 1,000 THB. In an overall view, product, price, and place factors indifferently affected the buying decision of the 3 different groups of lovers in Chiang Mai towards purchasing the couple products at 0.05 level of statistical significance. However, promotion factor differently affected the buying decision of the 3 different groups of lovers in Chiang Mai towards purchasing the couple products at 0.05 level of statistical significance. Hereafter were presented sub-factors which differently affected the buying decision of the 3 different groups of lovers in Chiang Mai towards purchasing the couple products at 0.05 level of statistical significance: product variety, variety of product items, cash on delivery service, effective point of purchase displays, point redemption for special rewards, notifications on new arrival and latest products or special sale promotions to customers through email, Facebook, Line, Instagram, and etc.; and website with attractive product presentation, reviews from previous customers, and availability of product presenters for 3 different groups of lovers.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleพฤติกรรมของคู่รักในจังหวัดเชียงใหม่ต่อการซื้อสินค้า แสดงความเป็นคู่รักen_US
dc.title.alternativeBehaviors of lovers in Chiang Mai Province towards purchasing couple productsen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashพฤติกรรมผู้บริโภค -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashการเลือกของผู้บริโภค -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashคู่รัก -- เชียงใหม่-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมของคู่รักในจังหวัดเชียงใหม่ต่อการซื้อสินค้าแสดงความเป็นคู่รัก โดยประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ คู่รักชาย หญิง ชาย ชาย และหญิง หญิง ซึ่งเคยซื้อสินค้าแสดงความเป็นคู่รักในจังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งไม่ทราบจำนวนประชากรที่แท้จริง จึงทำการเก็บข้อมูลจากคู่รักทั้ง 3 ประเภท โดยแบ่งเป็นกลุ่มละ 100 ชุด รวม 300 ชุด โดยสถิติที่ใช้ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และการวิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างกลุ่มใช้สถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ ไคสแควร์ และ ANOVA จากการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีอายุ 23-30 ปี มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 15,001-30,000 บาท มีการศึกษาระดับปริญญาตรี ประกอบอาชีพลูกจ้าง/พนักงานบริษัทเอกชน เลือกซื้อสินค้าแสดงความเป็นคู่รัก กลุ่มเสื้อผ้า ซื้อเสื้อยืดแขนสั้น กลุ่มเครื่องประดับ ซื้อนาฬิกา โดยซื้อเป็นชิ้น (แยก) 2-3 ชิ้น ต่อครั้ง ในราคาไม่เกิน 1,000 บาท เหตุผลที่ตัดสินใจซื้อ คือ เพื่อเป็นสัญลักษณ์แทนใจแสดงถึงความรัก ตัวของผู้ตอบแบบสอบถามเองมีอิทธิพลสูงสุดต่อการตัดสินใจซื้อ ซื้อเมื่อถึงวันครบรอบต่างๆ ซื้อจากร้านค้าภายในห้างสรรพสินค้า ในวันเสาร์ อาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ ในช่วงต้นเดือน หาข้อมูลเกี่ยวกับสินค้าผ่านช่องทางออนไลน์ และปัจจัยที่สำคัญในการซื้อ ได้แก่ คุณภาพของสินค้าที่ดี สามารถใช้งานได้นาน ผลัดกันชำระเงินกับคู่รักของตน และหลังจากการซื้อรู้สึกพึงพอใจมาก มีแนวโน้มจะแนะนาให้เพื่อนหรือคนรู้จักซื้อสินค้าที่ใช้คู่หรือใช้คู่กัน เมื่อวิเคราะห์ความแตกต่างของพฤติกรรมในแต่ละกลุ่มคู่รักพบว่า 1 ) เหตุผลที่ซื้อสินค้าแสดงความเป็นคู่รัก ของคู่รักชาย หญิง คือ เพื่อแสดงความเป็นเอกลักษณ์คู่ของตน และเพื่อเป็นสัญลักษณ์แทนใจแสดงถึงความรัก ในขณะที่ คู่รักชาย ชาย และหญิง หญิง คือ เพื่อเป็นสัญลักษณ์แทนใจแสดงถึง ความรัก (2 ) ปัจจัยที่สำคัญอันดับแรกในการซื้อสินค้าแสดงความเป็นคู่รักของคู่รักชาย หญิง และหญิง หญิง คือ คุณภาพของสินค้าที่ดี เช่น เนื้อผ้า วัสดุ ชิ้นส่วนประกอบ สามารถใช้งานได้นาน ในขณะที่คู่รักชาย ชายให้ความสาคัญกับรูปแบบ รูปทรง การออกแบบ สีสัน ที่สวยงามทันสมัย และ (3 ) คู่รักชาย หญิง และชาย ชาย มีงบประมาณในการซื้อสินค้าต่อครั้ง 1,000 2,000 บาท ในขณะที่หญิง หญิง มีงบประมาณไม่เกิน 1,000 บาท ในภาพรวมปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา และด้านการจัดจำหน่ายมีผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าแสดงความเป็นคู่รักของคู่รักในจังหวัดเชียงใหม่ ทั้ง 3 กลุ่มไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 00.05 แต่ในขณะที่ปัจจัยด้านการส่งเสริมการตลาด มีผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าแสดงความเป็นคู่รักของคู่รักในจังหวัดเชียงใหม่ ทั้ง 3 กลุ่มแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 00.05 สำหรับปัจจัยย่อยดังต่อไปนี้มีผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าแสดงความเป็นคู่รักของคู่รักในจังหวัดเชียงใหม่ ทั้ง 3 กลุ่มแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 00.05 ได้แก่ ความหลากหลายของชนิดสินค้าที่มีให้เลือก ความหลากหลายของรูปแบบสินค้า มีบริการเก็บเงินปลายทาง การจัดวางแสดงสินค้าง่ายต่อการเลือกซื้อ มีการสะสมแต้มเพื่อแลกรับสินค้าพิเศษ มีการแจ้งข่าวสารให้แก่ลูกค้าทราบเมื่อมีสินค้าใหม่จาหน่าย หรือมีรายการส่งเสริมการขายพิเศษต่างๆ ผ่านช่องทาง Email, Facebook, Line, Instag ram เป็นต้น การมีเว็บไซต์สำหรับนาเสนอสินค้าแสดงความเป็นคู่รักของคู่รักที่น่าสนใจ การรีวิวของลูกค้าที่เคยใช้บริการ และมีการแสดงแบบคู่เช่น ใช้หุ่นชาย หญิง ถ่ายภาพคู่กันen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
601532247 ภูมิ ผลดี.pdf2.98 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.