Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73587
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorณฐวัฒน์ ล่องทอง-
dc.contributor.authorปฏิภาณี บุตรชัยen_US
dc.date.accessioned2022-07-08T16:15:27Z-
dc.date.available2022-07-08T16:15:27Z-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73587-
dc.description.abstractThis research aimed to study the effects of Cognitive Behavioral Counseling and Home Visit on Depressive Symptoms of Depressive Disorder Patients at Hang Dong Hospital Chiang Mai Province. Using Single Case Experiment research method which divided into 3 periods of evaluation: baseline 1, program and baseline 2. The samples were 5 patients with depressive disorder which included Cognitive Behavioral counseling and home visit program. The program has 10 sessions that using once a week. Session 1-3 were home visit, taken 10-15 minutes per session, session 4-6 were Cognitive Behavioral counseling and home visit program, taken 40-50 minutes per session and the last 4 session were home visit, 10-15 minute per session. The research instruments consisted of Thai Depression Inventory and Cognitive Behavioral counseling and home visit program. The statistics used to analyze the data were descriptive statistics. The result found that; 1. The Score of depression of sample after attending the Cognitive Behavioral counseling and home visit program has decreased 2. The cognitive in point of view after attending the cognitive Behavioral counseling and home visit program tend to be positive thinking.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleผลของการให้การปรึกษาที่มุ่งเน้นการรู้คิด-พฤติกรรมร่วมกับการเยี่ยมบ้านต่ออาการซึมเศร้าของผู้ป่วยซึมเศร้า โรงพยาบาลหางดง จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeEffects of cognitive behavioral counseling and home visit on depressive symptoms of depressive disorder patients at Hang Dong hospital Chiang Mai provinceen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashการให้คำปรึกษา-
thailis.controlvocab.thashบุคคลซึมเศร้า-
thailis.controlvocab.thashความซึมเศร้า-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการให้การปรึกษาที่มุ่งเน้นการรู้คิด-พฤติกรรมร่วมกับการเยี่ยมบ้านต่ออาการซึมเศร้าของผู้ป่วยซึมเศร้า ที่รักษาตัวที่โรงพยาบาลหางดง จังหวัดเชียงใหม่ รูปแบบการทดลองเป็นการวิจัยแบบกรณีเดี่ยว (Single Case Experiment) วัดผล 3 ระยะ คือ ระยะเส้นฐาน 1 ระยะทดลอง และระยะเส้นฐาน 2 โดยมีกลุ่มตัวอย่างเป็น ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าจำนวน 5 ราย แต่ละรายจะได้รับการเยี่ยมบ้าน 10 ครั้ง โดยครั้งที่ 1-3 เป็นการเยี่ยมบ้านปกติใช้เวลา 10-15 นาที ครั้งที่ 4-7 เป็นการให้การปรึกษาที่มุ่งเน้นการรู้คิด-พฤติกรรมร่วมกับการเยี่ยมบ้านใช้เวลา 40 -50 นาที และครั้งที่ 8-10 เป็นการเยี่ยมบ้านปกติ ใช้เวลา 10 -15 นาที เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบประเมินภาวะซึมเศร้าฉบับภาษาไทย โปรแกรมการให้การปรึกษาที่มุ่งเน้นการรู้คิด-พฤติกรรมร่วมกับการเยี่ยมบ้าน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่สถิติเชิงพรรณนา ผลวิจัยพบว่า 1. กลุ่มตัวอย่างที่เข้าร่วมโปรแกรมการให้การปรึกษาที่มุ่งเน้นการรู้คิด-พฤติกรรมร่วมกับการเยี่ยมบ้านมีคะแนนจากแบบประเมินภาวะซึมเศร้าลดลงกว่าก่อนการทดลอง 2. กลุ่มตัวอย่างที่เข้าร่วมโปรแกรมการให้การปรึกษาที่มุ่งเน้นการรู้คิด-พฤติกรรมร่วมกับการเยี่ยมบ้านมีลักษณะความคิดที่เปลี่ยนไปในทางบวกen_US
Appears in Collections:HUMAN: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
590132078 ปฏิภาณี บุตรชัย.pdf2.21 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.