Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73517
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรัชชุกาญจน์ ทองถาวร-
dc.contributor.authorสุพิทยา สิงห์คำen_US
dc.date.accessioned2022-07-05T10:45:58Z-
dc.date.available2022-07-05T10:45:58Z-
dc.date.issued2020-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73517-
dc.description.abstractImplementation of Early Childhood Curriculum BE. 2560 in schools under the Lampang primary educational service area office 3 had the objectives of 1) to study condition of using Early Childhood Curriculum BE. 2560 of early childhood teachers in schools under the Lampang primary educational service area office 3 and 2) to study problems and needs of teachers, who worked in schools under the Lampang primary educational service area office 3 that occurred while using Early Childhood Curriculum BE. 2560. The population used in this study was 88 early childhood teachers who worked in schools under the Lampang primary educational service area office 3 during the second semester of 2020. The schools were divided into two school size, which were medium size and small size. The instrument used in this study was an Early Childhood Curriculum BD. 2560 condition questionnaire, which asked in 4 areas. The four areas were school curriculum development, learning arrangement aligned with the curriculum, curriculum management, and students’ achievement. The data was analyzed by computing frequency, mean, percentage, and standard deviation and presented through tables with descriptions and explanations. The findings were as follow: 1. States of using Early Childhood Curriculum BE. 2560 of early childhood teacher in two school sizes found as follow: 1.1 School curriculum development area found both sizes of schools practice at the most level. 1.2 Learning arrangement aligned with the curriculum area found both sizes of schools practice at more level when considered in details the medium size schools showed practice at more level, however the small size schools practice was at the most level. 1.3 Curriculum management area found as both sizes of schools practice at more level when considered in details the medium size schools practice at the most level and small schools practice at more level. 1.4 Students’ achievement area found both sizes of schools had students’ achievement at good level from three levels criteria, which were good, moderate, and improvement. 2. Problems and needs of teachers that occurred while implementing Early Childhood Curriculum 2.1 Problems and needs of teachers in school curriculum development area Problems of teachers in school curriculum development area were lack of knowledge in developing school curriculum process and no parents’ cooperation with schools. Needs of teachers in school curriculum development area were developing the school curriculum that aligned with basic education curriculum and the training of how to develop school early childhood curriculum. 2.2 Problems and needs of teachers in learning arrangement aligned with the curriculum area Problems of teachers in learning arrangement aligned with the curriculum area were lack of material budget or to buy material and lack of teachers and teacher helpers in all classes. Needs of teachers in learning arrangement aligned with the curriculum area were budget to buy material for making learning material or material and wanted to have teachers and teacher helpers in all classes. 2.3 Problems and needs of teachers in curriculum management area Problems of teachers in curriculum management area was irrelevant of early childhood level and elementary 1 level learning development assessment and teachers had too many jobs other than teaching. Need of teachers in curriculum management area was to decrease numbers of teachers’ jobs other than teaching. 2.4 Problems and needs of teachers in students’ achievement area Problems of teachers in students’ achievement area was most of students stay with grandparents so there were no parents to help and support children’ development. Most parents did not understand early childhood education philosophy so they wanted their children to read, write and do mathematics. Needs of teachers in students’ achievement area were to make understanding with the parents about early childhood education philosophy and wanted to develop the children according to curriculum standard and deserved characteristics.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการใช้หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3en_US
dc.title.alternativeImplementation of Early Childhood Curriculum BE.2560 in Schools Under the Lampang Primary Educational Service Area Office 3en_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashการศึกษาปฐมวัย -- ลำปาง-
thailis.controlvocab.thashการศึกษาปฐมวัย -- หลักสูตร-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาเรื่องการใช้หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3 มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพการใช้หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 ของครูปฐมวัยในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปางเขต 3 และ 2) เพื่อศึกษาปัญหาและความต้องการของครูที่เกิดขึ้นจากการใช้หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปางเขต 3 ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ ครูผู้สอนระดับปฐมวัย ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 จำนวน 88 คน โดยแบ่งโรงเรียนเป็น 2 ขนาด ได้แก่ ขนาดกลางและขนาดเล็ก เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามสภาพการใช้หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 จำนวน 4 ด้าน ได้แก่ ด้านการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย ด้านการดาเนินการเรียนการสอนตามหลักสูตร ด้านการบริหารจัดการหลักสูตร และด้านผลสัมฤทธิ์ที่เกิดกับผู้เรียน วิเคราะห์ข้อมูลโดย การหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน นำเสนอในรูปแบบตารางประกอบ การบรรยาย ผลการศึกษาพบว่า 1. สภาพการใช้หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 ของครูปฐมวัยในโรงเรียนทั้ง 2 ขนาด ในแต่ละด้านปรากฏผลการศึกษาดังนี้ 1.1 ด้านการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย พบว่า โรงเรียนทั้ง 2 ขนาด ปฏิบัติได้อยู่ในระดับมากที่สุด 1.2 ด้านการดาเนินการเรียนการสอนตามหลักสูตร พบว่า ภาพรวมโรงเรียนทั้ง 2 ขนาด ปฏิบัติได้อยู่ในระดับมาก โดยที่โรงเรียนขนาดกลางปฏิบัติได้อยู่ในระดับมาก และโรงเรียนขนาดเล็กปฏิบัติได้อยู่ในระดับมากที่สุด 1.3 ด้านการบริหารจัดการหลักสูตร พบว่า โดยรวมโรงเรียนทั้ง 2 ขนาด ปฏิบัติได้อยู่ในระดับมาก โดยที่โรงเรียนขนาดกลางปฏิบัติได้อยู่ในระดับมากที่สุด และโรงเรียนขนาดเล็กปฏิบัติได้อยู่ในระดับมาก 1.4 ด้านผลสัมฤทธิ์ที่เกิดกับผู้เรียน พบว่า โรงเรียนทั้ง 2 ขนาด มีผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนอยู่ในระดับดี จากเกณฑ์การประเมิน 3 ระดับ คือ ดี พอใช้ และควรปรับปรุง 2. สภาพปัญหาและความต้องการของครูที่เกิดขึ้นจากการใช้หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย 2.1 ปัญหาและความต้องการของครูด้านการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา ปัญหาของครูในการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา ได้แก่ ขาดความเข้าใจ ในกระบวนการการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา และขาดความร่วมมือระหว่างผู้ปกครองกับโรงเรียน ส่วนความต้องการของครูเกี่ยวกับการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา ได้แก่ การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยให้สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน และต้องการการอบรม ในเรื่องการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย 2.2 ปัญหาและความต้องการของครูด้านการดาเนินการเรียนการสอนตามหลักสูตร ปัญหาของครูในด้านการดาเนินการเรียนการสอน ได้แก่ ครูขาดแคลนงบประมาณในการจัดทำหรือจัดซื้อสื่อการเรียนการสอน และยังขาดบุคลากรครูครบชั้นเรียน ส่วนความต้องการของครูในด้านการดาเนินการเรียนการสอน ได้แก่ งบประมาณ ในการจัดทำหรือจัดซื้อสื่อการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ต้องการครูพี่เลี้ยงครบชั้นเรียน และต้องการการอบรมเรื่องการสอนแบบบูรณาการในระดับปฐมวัย 2.3 ปัญหาและความต้องของครูด้านการบริหารจัดการหลักสูตร ปัญหาของครูในด้านการบริหารจัดการหลักสูตร ได้แก่ การประเมินพัฒนาการการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยกับเด็กประถมปีที่ 1 ไม่สอดคล้องกัน และภาระงานของครูมีมาก ส่วนความต้องการของครูเกี่ยวกับการบริหารจัดการหลักสูตร ได้แก่ ต้องการลด ภาระงานที่ไม่จำเป็นให้น้อยลง 2.4 ปัญหาและความต้องการของครูด้านผลสัมฤทธิ์ที่เกิดกับผู้เรียน ปัญหาของครูในด้านผลสัมฤทธิ์ที่เกิดกับผู้เรียน ได้แก่ เด็กอาศัยกับปู่ ย่า ตา ยาย ขาดบิดามารดาช่วยดูแลและส่งเสริมพัฒนาการด้านต่างๆ ผู้ปกครองขาดความเข้าใจในปรัชญาการศึกษาปฐมวัย ต้องการให้เด็กอ่านออกเขียนได้ ส่วนความต้องการของครูด้านผลสัมฤทธิ์ที่เกิดกับผู้เรียน ได้แก่ ครูต้องการสร้างความรู้ ความเข้าใจให้ผู้ปกครองเกี่ยวกับปรัชญาการศึกษาปฐมวัย และต้องการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะตามาตรฐานและลักษณะที่พึงประสงค์ของหลักสูตรen_US
Appears in Collections:EDU: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
600232033 สุพิทยา สิงห์คำ.pdf2.75 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.