Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73473
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorยุทธนา ทองท้วม-
dc.contributor.authorประวณี จิณานุกุลen_US
dc.date.accessioned2022-06-28T10:39:41Z-
dc.date.available2022-06-28T10:39:41Z-
dc.date.issued2021-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73473-
dc.description.abstractOutpatient Building in Community Hospital was constructed with a standard plan No.3130, which the Overall Thermal Transfer Value (OTTV) and Roof Thermal Transfer Value (RTTV) were not meet the standard criteria regarding to the Building Energy Code, which affects the electricity consumption of the air conditioning system. Therefore, the researcher has studied to solve the problem by Integration between Building Energy Code And life cycle assessment, which takes into account the environmental impact of greenbouse gas emissions based on calculations regarding of Intergovemnmental Panel on Climate Change (IPCC) in terms the production of modified materials and the burden of electricity, air conditioning system in finding measures to improve. There is scope for the study in both the improvement of construction drawings and the finished building where is currently in use by selecting the outpatient building in Doi Saket hospital, Saraphi hospital and Mae Wang hospital. As a case study building. The result showed that the construction design should be improved with the measure of the rate of change that afiects the OTTV the most, It to reduce the proportion of window glass and increase the solid wall area (window to wall ratio, WWR) will cause the building to meet OTTV of Building Energy Code of 30 W / m', representing 35,323.09 kWh / year of air conditioning system electricity consumption. In each direction of building orientation, there is a difference in increasing the solid wall area or reducing the window glass area. The north- facing building will have the lowest greenhouse gas emissions from the renovation active material of 1,555.92 kCo,e.Additionally, the renovation will have a payback period of 0.22 years. As for the construction renovation of the roof, which cannot be taken with the same measures as the building frame because the roof is not glazed After experiments, it was found that insulation with a density of 12kg / m', Thickness 75 mm, which was more dense than other measures, was installed only on the reinforced concrete roof, which is the area that is Make the most of the heat transferred into the building. This makes the building able to reduce the load on the electricity consumption of the air conditioning system 2,390.79 kWh / year or equivalent to 2,390.79 kCo,elyear greenhouse gas emissions: have a payback period of 0.85 years despite the amount of greenbouse gas emissions in the production phase. Most of the material. In addition, roof renovation measures will be applicable to the buildings that have been completed and are currently in operation. But in the envelope of the building, it can't take the same measures as the renovation of construction drawings. Due to structural constraints and the possibility of improvement. Therefore, the researcher changed to consider the secondary variables that affect the heat transfer value, including the Solar Heat Gain Coefficient (SHGC) and the total heat transfer coefficient of the solid wall (U.). The result showed that it was found that the installation measures for the gypsum wall to be attached to the original wall, leaving air gaps along with the installation of thermal insulation. This is the measure that has the highest amount of greenhouse gas emissions during material production. But it is the best measure of long-term energy. And when renovating to meet the Building Energy Code for both the building frame and the roof of the outpatient building in Doi Saket Hospital, Saraphi Hospital and Mae Wang Hospital. It will be able to reduce the electricity consumption in air conditioning systems at 7,529.67, 4,677.61 and 4,815.8 kWh/year, respectively, or equivalent to 5,220.32, 3,243.00 and 3,433.04 kCo,e/year greenhouse gas emissions, respectively. In addition, payback periods were 4.85, 5.47 and 7.32 years, respectively. In the next study, life cycle assessments should be considered for all phases of the building's use. In order to draw a clearer conclusion on the impact on the environment. In addition, payback times are 4. 85, 5. 47 and 7.32 years, respectively. For further study in this field, the researchers suggest to consider other factors that affect the environment in overall stages of building life cycle as to attain an obvious breakeven conclusion.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleแนวทางในการปรับปรุงกรอบอาคารและหลังคาอาคารผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลชุมชนเพื่อลดการใช้พลังงานระบบปรับอากาศและการปล่อยก๊าซเรือนกระจกen_US
dc.title.alternativeGuidelines for improve the outpatient building’s envelope and roof of community hospitals to reduce energy consumption in air conditioning system and green house gas emissionsen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashโรงพยาบาล -- การออกแบบ-
thailis.controlvocab.thashอาคาร -- การออกแบบและการสร้าง-
thailis.controlvocab.thashการก่อสร้าง-
thailis.controlvocab.thashโรงพยาบาล -- เชียงใหม่-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractอาคารผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลชุมชนที่สร้างตามแบบมาตรฐาน เลขที่ 3130 มีปัญหาในด้านของค่าการถ่ายเทความร้อนของกรอบอาคาร และหลังคาไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานประสิทธิภาพขั้นต่ำในทุกทิศทางการวางแนวของอาคาร อันมีผลต่อภาระการใช้ไฟฟ้าระบบปรับอากาศ ดังนั้นผู้วิจัยจึงได้ทำการศึกษาเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวด้วยการบูรฌณาการระหว่างเกณฑ์มาตรฐานประสิทธิภาพพลังงานขั้นต่ำ และการประเมินวัฏจักรชีวิต ซึ่งคำนึงผลกระทบการสิ่งแวดล้อมในด้านการปล่อยก๊าซเรือนกระจกโดยอ้างอิงจากการคำนวณจากคณะกรรมการระหว่างรัฐว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศในช่วงของกรผลิตวัสดุที่ใช้ในการปรับปรุง และภาระการใช้ไฟฟ้ระบบปรับอากาศในการหามาตรการในการปรับปรุงโดยมีขอบเขตในการศึกษาทั้งในส่วนของการปรับปรุงแบบก่อสร้าง และอาคารที่สร้างเสร็จแล้วและกำลังเปิดใช้งานในปัจจุบัน โดยใช้อาคารผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลดอยสะเก็ด โรงพยาบาลสารกี และ โรงพาบาลแม่วาง เป็นอาคารกรณีศึกษา ผลการทดลองพบว่า ควรปรับปรุงแบบก่อสร้างด้วยมาตรการจากการหาอัตราการเปลี่ยนแปลงที่มีผลต่อค่าการถ่ายเทความร้อนมากที่สุด คือการลดสัดส่วนของกระจกหน้าต่าง เพิ่มพื้นที่ผนังทึบ (WWR) จึงจะทำให้อาคารมีค่าการถ่ายเทความร้อนรวมของกรอบอาคารผ่านเกณฑ์มาตรฐานประสิทธิภาพพลังงานขั้นต่ำเท่ากับ 30W/m คิดเป็นภาระการใช้ไฟฟ้าระบบปรับอากาศ 35.323.09 kWw/ปี ซึ่งในแต่ละทิศทางการวางแนวของอาการจะมีการเพิ่มพื้นที่ผนังทึบและลดกระจกที่ไม่เท่ากัน โดยอาคารที่หันหน้าไปทางทิศเหนือจะมีปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากวัสดุที่ใช้งานการปรับปรุงน้อยที่สุดเท่ากับ 1,555.92 kCo.e นอกจากนี้การปรับปรุงดังกล่าวจะมีระยะเวลาในการคืนทุน 0.22 ปี ในส่วนของการปรับปรุงแบบก่อสร้างในส่วนของหลังคาซึ่งไม่สามารถใช้มาตรการเดียวกับการปรับปรุงกรอบอาคาร ได้เนื่องจากหลังคาไม่มีส่วนเป็นกระจก โดยหลังจากการทดลองพบว่าควรติดตั้งฉนวนที่มีความหนาแน่น 12 กก.ลบ.ม. หนา 75 มม. ซึ่งเป็นฉนวนที่มีความหนาแน่นมากกว่ามาตรการอื่น ๆ โดยทำการติดตั้งเฉพาะบริเวณหลังคาคอนกรีตเสริมเหล็กซึ่งเป็นบริเวณที่ทำให้ความร้อนถ่ายเทเข้าสู่อาคารมากที่สุด โดยทำให้อาคารสามารถลดภาระการใช้ไฟฟ้าระบบปรับอากาศ 2,390.79 kWh/ปี หรือคิดเป็นปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก 2,390.79 xCo-eปี: มีระยะเวลาคืนทุนเท่ากับ 0.85 ปี แม้จะมีปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในช่วงของการผลิตวัสดุมากที่สุดก็ตาม ทั้งนี้มาตรการในการปรับปรุงหลังคาดังกล่าวจะสามารถใช้ใด้กับอาการที่สร้างเสร็จแล้วและกำลังเปิดใช้งานในปัจจุบัน แต่ในส่วนของกรอบอาคารนั้นจะไม่สามารถใช้มาตรการเดียวกับการปรับปรุงแบบก่อสร้าง เนื่องจากข้อจำกัดในด้านโครงสร้างและความเป็นไปได้ในการปรับปรุง ดังนั้นจึงหันมาพิจารณาในแง่ของวัสดุซึ่งเป็นตัวแปรอัตราการเปลี่ยนแปลงที่มีผลต่อค่าการถ่ายเทความร้อนรองลงมา ได้แก่ สัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อนจากรังสีอาทิตย์ที่ส่งผ่านผนังโปร่งแสง หรือกระจก (SHGC) และสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อนรวมของผนังทึบ (U. ) โดยจากการทดลองการปรับปรุง พบว่า มาตรการการติดตั้งผนังเบาแนบไปกับผนังเดิมโดยเว้นช่องว่างอากาศพร้อมกับการติดตั้งฉนวนกันความร้อนซึ่งเป็นมาตรการที่มีปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในช่วงของการผลิตวัสดุมากที่สุด แต่ก็เป็นมาตรการที่ดีที่สุดในด้านพลังานในระยะยาว และเมื่อปรับปรุงเพื่อให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานประสิทธิภาพพลังงานขั้นต่ำทั้งในส่วนของกรอบอาคาร และหลังคาของอาคารผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลดอยสะเก็ด, โรงพยาบาลสารภี และ โรงพยาบาลแม่วาง จะสามารถลดภาระการใช้ไฟฟ้าระบบปรับอากาศได้ 7,529.67, 4.677.61 และ 4,815.8 kWh/ปี ตามลำดับ หรือคิดเป็นปริมาณการปล่อยก๊ซเรือนกระจก 5,220.32, 3,243.00 และ 3,433.04 kCoe/ปี ตามลำดับ นอกจากนี้ขังมีระยะเวลาคืนทุนเท่ากับ 4.85, 5.47 และ 7.32 ปี ตามลำดับทั้งนี้ในการศึกษาต่อไปควรพิจารณาการประเมินวัฏจักรชีวิตทุกช่วงของการใช้งานของอาคาร เพื่อให้ได้ข้อสรุปในด้านผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมที่ชัดเจนยิ่งขึ้นen_US
Appears in Collections:ARC: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621731006 ประวีณ จิณานุกุล.pdf9.95 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.