Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73464
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorTrasapong Thaiupathump-
dc.contributor.authorWachiranun Sirikulen_US
dc.date.accessioned2022-06-28T09:37:23Z-
dc.date.available2022-06-28T09:37:23Z-
dc.date.issued2021-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73464-
dc.description.abstractThailand is a middle-income country where the road traffic injury crisis has been one of the most serious public health concerns. Currently, machine learning (ML) algorithms are widely used for public health predictive analytics. Therefore, we developed the Multi- layer perceptron (MLP) classifier from the road traffic accident driver data in Thailand that aim to classify a high-risk driver who had severe injuries from road traffic accidents. However, the imbalanced data was a typical problem in public health data and also caused an "accuracy paradox" that the model intended to predict a majority class. Accurately detecting minority class was important especially in the public health data because it was associated with high impact events and serious adverse outcomes. Since the imbalanced data is unavoidable according to the nature of public health data. The rebalanced strategies or other data approaches were applied to encounter this problem. Subsequently, the over-sampling techniques were significantly improved discrimination performances of models comparing with under-sampling or without rebalancing approach. Therefore, this model can be applied as the personalized risk classification of driving under influence of alcohol and more precisely than using alcohol legal limit.en_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleDevelopment of risk prediction model for road traffic injury in drunk-drivers during festivals in Thailanden_US
dc.title.alternativeการพัฒนาโมเดลสำหรับการพยากรณ์ความเสี่ยงที่ได้รับบาดเจ็บทางจราจรของผู้ขับขี่ยานพาหนะที่มึนเมาในช่วงเทศกาลของประเทศไทยen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.lcshTraffic accidents-
thailis.controlvocab.lcshTraffic safety-
thailis.controlvocab.lcshAccidents--Protection-
thailis.controlvocab.lcshDrinking and traffic accidents-
thailis.controlvocab.lcshDrunk driving-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางการจราจจร เป็นหนึ่งในปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญ และผลกระทบต่อสังคมในระดับโลก โดยเฉพาะในกลุ่มประเทศที่มีรายได้ปานกลาง รวมถึงประเทศไทย เนื่องจากปัจจุบันได้มีการพัฒนาโมเดลคอมพิวเตอร์ด้วย Machine Leaming เพื่อใช้ในแก้ใขปัญหาทางด้านสารธารณสุข โดยฉพาะการวิเคราะห์ความเสี่ยง หรือโอกาสการเกิดผลกระทบทางสุขภาพ จากข้อมูลทางสาธารณสุข ดังนั้นวิจัยจึงได้พัฒนาโมเดล Machine Learning ด้วยเทดนิด Muli-Layer perceptron classification เพื่อใช้จำแนกผู้ขับขี่ที่มีความเสี่ยงสูงที่จะเกิดการบาดจ็บรุนแรงจากอุบัติเหตุทางถนน จากการดื่มแอลกอฮอล์ และผู้ขับขี่ที่มีความเสี่ยงต่ำในประเทศไทย จากฐานข้อมูลทางสาธารณสุข อย่างไรก็ตามการพัฒนาโมเดลดังกล่าวโดยใช้ข้อมูลทางสาธารณสุข มักพบปัญหาเกี่ยวกับความสมดุลของข้อมูลกลุ่มที่เป็นเป้าหมายที่ต้องการจำแนก ซึ่งมักเป็นกลุ่มข้อมูลส่วนน้อย ส่งผลให้ความแม่นยำของโมเดลในการพยากรณ์ความเสี่ยง หรือจำแนกกลุ่มข้อมูลส่วนน้อยลดลง และไม่เป็นไปตามความเป็นจริง เนื่องจากโมเดลเรียบรู้ที่จะทำนายเพียงกลุ่มข้อมูลส่วนมาก เพื่อให้ได้ความแม่นยำในการจำแนกมากที่สุด อย่างไรก็ตามเนื่องจากการทำนาย หรือจำแนกกลุ่มข้อมูลส่วนน้อย ซึ่งเป็นเป้าหมายหลักของการใช้โมเดล เพื่อแก้ไขปัญหาทางด้านสาธารณสุข การใช้เทคนิคการปรับสมดุลของกลุ่มข้อมูลจึงถูกนำมาประยุกต์ใช้เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวในการพัฒนาโมเดล ดังนั้นผู้วิจัยจึงได้ศึกษาการเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างข้อมูล และความแม่นยำของโมเดลในการจำแนกกลุ่มเสี่ยงที่จะได้รับอุบัติเหตุรุนแรง หลังจากการปรับสมดุลข้อมูล โดยใช้เทคนิคการปรับจำนวนข้อมูลแบบ Over sampling และ Under samping เพื่อเปรียบเทียบกับการพัฒนาโมเดลโดยใช้ข้อมูลที่ไม่สมดุลen_US
Appears in Collections:ENG: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620632080 วชิรนันท์ ศิริกุล.pdf1.24 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.