Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72214
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอริศรา เจริญปัญญาเนตร-
dc.contributor.advisorลิวา ผาดไธสง-
dc.contributor.authorจิรพงศ์ โยพนัสสักen_US
dc.contributor.authorJirapong Yopanutsaken_US
dc.date.accessioned2022-03-11T07:56:43Z-
dc.date.available2022-03-11T07:56:43Z-
dc.date.issued2020-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72214-
dc.description.abstractContract Farming: Attitude and Landscape Changing of Farmers in Kong Hae Village, Pong Yaeng Sub-district, Mae Rim District, Chiang Mai Province. The purposes of this study were (1) to study acceptance and factors affecting farmer's acceptance of soil and water conservation agriculture (2) to study the factors affecting landscape modification from contract farming. A sample was selected from 100 households who work as farmers and have domiciled in Kong Hae Village, Pong Yaeng Sub-district, Mae Rim District, Chiang Mai Province. This study used questionnaires for data collection and used statistical data analysis, namely, percentage and mean. The results suggest that 72% of Kong Hae Village's farmers accepted soil and water conservation because they faced many problems, including, water resource problems, soil resource problems, production problems, marketing problems, and problems of soil erosion. These problems have been made the farmers aware of the benefits of soil and water conservation. Because in the past, the farmers engaged in contract farming that used the agricultural land area for intensive farming such as planting onion, cabbage, and chayote all year round and no resting, the soil fertility affected and faced many problems in farming. when they were adjusted from intensive farming to soil and water conservation agriculture. Moreover, when considered the weight of the 6 factors' score found that the most important factor was the physical factors due to affecting the product. If the soil and weather were suitable the product would good as well. The second important factor was the public and private sectors because the government has promoted, supported, and supervised the farmers, especially, the Land Development Department that prepared leavening, equipment and taught them how to make the compost to replace the chemicals. These ways have attracted farmers to more attend soil and water conservation. The third important factor was the social factor. The fourth important factor was the economic factor. The fifth important factor was the technology. Lastly, the sixth important factor was farmer characteristics. Therefore, from the farmer's acceptance and landscape modification from contract farming to farming that conserves soil and water that was integrated farming and focused on the creation of a diversity of plants, animals, and biological resources, using between materials or covering plants, multi-level planting, terrace cultivation, and having water resource in farmland.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectชุมชนบ้านกองแหะen_US
dc.subjectเกษตรพันธะสัญญาen_US
dc.titleเกษตรพันธะสัญญา: การปรับเปลี่ยนทัศนคติและภูมิทัศน์ของเกษตร ในชุมชนบ้านกองแหะ ตำบลโป่งแยง อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeContract Farming: Attitude and Landscape Changing of Farmers in Kong Hae Village, Pong Yaeng Sub-district, Mae Rim District, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractเกษตรพันธะสัญญา: การปรับเปลี่ยนทัศนคติและภูมิทัศน์ของเกษตร ในชุมชนบ้านกองแหะ ตำบล โป่งแยง อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาการยอมรับและปัจจัยที่มีผลต่อ การยอมรับเกษตรแบบอนุรักษ์ดินและน้า ของเกษตรกร (2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการปรับเปลี่ยน ภูมิทัศน์จากการทำเกษตรพันธะสัญญา โดยกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ประชาชนที่ประกอบอาชีพเกษตรกร และมีภูมิลำเนาอยู่ในชุมชนบ้านกองแหะ ตำบลโป่งแยง อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 100 ครัวเรือน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ แบบสอบถาม ซึ่งสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ และค่าเฉลี่ย ผลจากการศึกษา พบว่า เกษตรกรของบ้านกองแหะมีการยอมรับการทำ ระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ร้อยละ 2 เพราะว่าเกษตรกรประสบปัญหาในเรื่องของ ปัญหาทางด้าน ทรัพยากรน้า ปัญหาทางด้านทรัพยากรดิน ปัญหาทางด้านการผลิต ปัญหาทางด้านการตลาด และ ปัญหาทางด้านการชะล้างพังทลายของดิน จึงทำให้เกษตรกรตระหนักและรู้ถึงประโยชน์ของการทำ ระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ เนื่องจากในอดีตเกษตรกรมีพฤติกรรมการเกษตรแบบพันธะสัญญาที่มี ลักษณะการใช้ที่ดินเพาะปลูกอย่างเข้มข้น โดยจะปลูกหอมหัวใหญ่ กะหล่ำ ปลี และมะระหวานเก็บ ยอด ตลอดทั้งปี โดยไม่มีการเว้นระยะเวลาการพักหน้าดิน จึงส่งผลต่อความอุดมสมบูรณ์ของดิน และ พบปัญหาดังที่กล่าวมาข้างต้น และเมื่อมีการปรับเปลี่ยนจากการทำ การเกษตรแบบเข้มข้น เป็นการทำเกษตรแบบอนุรักษ์ดินและน้ำ และเมื่อพิจารณาถึงค่าน้ำหนักของคะแนนทั้ง 6 ปัจจัยแล้วพบว่า ปัจจัย ทางด้านกายภาพ เป็นปัจจัยอันดับ 1 ที่ส่งผลต่อปริมาณผลผลิต เนื่องจากหากสภาพดินและสภาพ อากาศมีความเหมาะสมจะส่งผลให้ผลผลิตดีตามไปด้วย ปัจจัยที่สาคัญอันดับ คือ ปัจจัยด้านภาครัฐและเอกชน เนื่องจากเกษตรกรได้รับการดูแล ส่งเสริม และสนับสนุนจากทางภาครัฐ อาทิ กรมพัฒนา ที่ดินมีการสอนการทา ระบบปุ๋ยพืชสดเพื่อทดแทนการใช้สารเคมี โดยทางกรมพัฒนาที่ดินมีหัวเชื้อ และอุปกรณ์ผลิตให้ ซึ่งเป็นสิ่งที่ดึงดูดให้เกษตรกรบ้านกองแหะหันมาสนใจทา ระบบอนุรักษ์ดินและ น้ำมากขึ้น ปัจจัยที่สาคัญอันดับ 3 คือ ปัจจัยทางด้านสังคม ปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจ ปัจจัยทางด้าน เทคโนโลยี และปัจจัยทางด้านคุณลักษณะของเกษตรกร ตามลา ดับ ดังนั้น จากการที่เกษตรกรมีการ ยอมรับและปรับเปลี่ยนภูมิทัศน์จากการทำเกษตรพันธะสัญญา เป็นการทำเกษตรแบบอนุรักษ์ดินและ น้ำซึ่งเป็นรูปแบบของการทำ เกษตรผสมผสาน ที่มีการให้ความสาคัญในเรื่องของการสร้างความ หลากหลายของพืช สัตว์ และทรัพยากรชีวภาพ การใช้ประโยชน์เกื้อกูลกันระหว่างกิจกรรม การใช้ วัสดุหรือพืชคลุมดิน การปลูกพืชหลายระดับ มีแหล่งน้ำในพื้นที่ ซึ่งจะไม่เน้นหนักในข้อปฏิบัติen_US
Appears in Collections:SOC: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
580432029 จิรพงศ์ โยพนัสสัก.pdf2.93 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.