Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72196
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเขมกร ไชยประสิทธิ์-
dc.contributor.authorณิชารีย์ อ่ำเทศen_US
dc.date.accessioned2022-02-04T08:40:12Z-
dc.date.available2022-02-04T08:40:12Z-
dc.date.issued2020-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72196-
dc.description.abstractThis independent study aimed to improve inventory management of Lamphun Spare Parts Center Company Limited in order to keep full costing the lowest with appropriate quantity of inventory. This study applied the ABC Analysis to classify the inventory; the Economic Order Quantity (EOQ) to calculate the quantity for each order; and the Reorder Point (ROP) to identify period of time to place a new order to replenish an inventory stock. In this study, spare parts listed in the engine category were selected to be analyzed. According to the ABC Analysis, the selected spare parts were divided into 3 groups: Group A, Group B, and Group C, of which the ratio was presented as 75:20:5. Group A consisted of 207 product items, which costed 581,074.54 Baht in total. According to the EOQ calculation on the basis of product demands as acquired by the Coefficient of Variation Analysis, 197 of them were the items with the fixed-order demand and could be calculated for the EOQ. The order quantities of these items were modified according to the lot size of actual purchase and the quantity discount condition. The ROP and the safety stock of these items were, then, calculated under the consideration of 4 selected service levels: 84%, 90%, 95%, and 99%. Since the selection of service level was based upon the full costing, this study, thus, chose the service level at 84% as it could keep the full costing the lowest. This selected service level was, however, lower than the level of retailed business service standard due to product redundancy caused by diversity of product qualities and brands. According to the calculation, the inventory quantity was averagely cut down to 994,087.19 Baht; the carrying cost was decreased to 113,744.31 Baht; and the ordering cost was reduced to 174,713.01 Baht. Consequently, after this study was conducted, the full costing was 288,457.32 Baht, which was lower than the previous full costing at 84,105.73 Baht.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการจัดการสินค้าคงคลังของบริษัท ศูนย์อะไหล่ยนต์ ลำพูน จำกัดen_US
dc.title.alternativeInventory management of Lamphun Spare Parts Center Company Limiteden_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบสินค้าคงคลังของบริษัทศูนย์อะไหล่ยนต์ ลำพูน จำกัด เพื่อให้มีต้นทุนรวมที่ต่ำที่สุด และมีสินค้าคงคลังจัดเก็บในปริมาณที่เหมาะสม โดยการแบ่งกลุ่มของสินค้าคงคลังด้วยวิธี ABC Analysis คำนวณหาปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัด (EOQ) เพื่อให้ทราบปริมาณที่ต้องสั่งซื้อในแต่ละครั้ง และหาจุดสั่งซื้อซ้ำ(ROP) เพื่อให้สามารถกำหนดระยะเวลาในการสั่งซื้อสินค้าในแต่ละครั้งก่อนสินค้าจะหมดสำหรับการศึกษานี้ผู้ศึกษาเลือกหมวดเครื่องยนต์ มาใช้ในการวิเคราะห์ ABC Analysis ซึ่งแบ่งสินค้าออกเป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่ม A กลุ่ม B และกลุ่ม C ในอัตราส่วน 75:20:5 โดยสินค้าในกลุ่ม A มีจำนวน 207 รายการ คิดเป็นมูลค่า 581,074.54 บาท จากนั้นนำสินค้ากลุ่ม A มาคำนวณหาปริมาณการสั่งซื้อทีประหยัด โดยพิจารณาลักษณะความต้องการของสินค้าด้วยการวิเคราะห์หาค่าสัมประสิทธิ์ความแปรปรวน พบว่ามีรายการสินค้าจำนวน 197 รายการที่มีความต้องการคงที่มาทำการปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัด โดยปรับจำนวนการสั่งซื้อในสอดคล้องกับการสั่งซื้อจริงตาม Lot Size และปรับปริมาณการสั่งซื้อเพื่อให้ได้ขนาดการสั่งซื้อที่ประหยัดที่มีส่วนลดปริมาณ (Quantity Discount) แล้วคำนวณหาจุดสั่งซื้อซ้าและปริมาณสินค้าคงคลังสารอง โดยเลือกระดับการให้บริการ 4 ระดับในการศึกษา คือ 84% 90% 95% และ99% ซึ่งการเลือกระดับการให้บริการพิจารณาจากต้นทุนรวม ดังนั้นจึงเลือกระดับการให้บริการที่ 84% ซึ่งเป็นระดับการให้บริการที่ทำให้ต้นทุนรวมต่ำที่สุด และต่ำกว่าระดับการให้บริการมาตรฐานของธุรกิจค้าปลีก เนื่องจากความซ้ำซ้อนของสินค้าจากความหลายหลายด้านคุณภาพและตรายี่ห้อ ซึ่งผลการคำนวณพบว่า ปริมาณสินค้าคงคลังเฉลี่ยลดลงเป็น 994,087.19 บาท นอกจากนี้ต้นทุนการเก็บรักษาลดลงเป็น 113,744.31 บาท และต้นทุนการสั่งซื้อลดลงเป็น 174,713.01 บาท ดังนั้นต้นทุนรวมหลังการศึกษาเท่ากับ 288,457.32 บาท ซึ่งลดลงจากต้นทุนรวมก่อนการศึกษา 84,105.73 บาทen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611532007 ณิชารีย์ อ่ำเทศ.pdf4.96 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.