Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72139
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธีรวรรณ ธีระพงษ์-
dc.contributor.authorพีรพล จิรปฐมสกุลen_US
dc.date.accessioned2021-09-10T03:12:38Z-
dc.date.available2021-09-10T03:12:38Z-
dc.date.issued2020-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72139-
dc.description.abstractThe purpose of this study was to explore psychological process involved counter-urbanization among people who has migrated from the urban to the rural. The qualitative case study method has been used in this study. Data were collected by the in-depth interviews with five migrants who used to live in Bangkok and willingly moved to rural area in Thailand. After being analyzed and interpreted, the data was justified by thesis advisor and interviewers. The result reflected two themes including the Background of the Case Study and Psychological Process of Migration. To begin with the first theme, the Background of the Case Study, this part described the case studies’ experiences from the life in the civilized capital to now in the austere rural area. The second theme, Psychological Process of Migration could be divided into three main aspects. To clarify, the first aspect was the Motivation for Migration which included 1) Need of Lifestyle Changes 2) Pursuit of Dream 3 ) Need of Rural Development 4 ) Seeking for Simplicity 5 ) Avoidance of Bangkok Urbanization 6) Desire of Rural idyll 7) Persistence in Self Goal and 8) More Satisfaction in Rural Life. Next, the second aspect, Adjustment of Migration, was combined of 6 elements, including 1) Adjustment to Rural Lifestyle 2) Things to Lean on When Facing Tiredness 3) Adjustment to New Job 4) Adjustment to Less Income 5) Working Adjustment Depend on Situations and 6) Living with Different Culture and Belief. Finally, the last aspect, Mental health of Migrant, was classified into 6 elements, including 1) Courage 2) Social Support Receiving 3) Defense Mechanisms used for Anxiety 4) Resilience 5) Happiness and 6) Personal growth. The result of this research revealed the psychological process and the migration experiences and of migration among people who has migrated from the urban to the rural. These data could be used to develop the psychological counseling program for migrate.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleกระบวนการทางจิตวิทยาในการย้ายถิ่นของคนเมืองกรุงสู่ชนบทen_US
dc.title.alternativePsychological Process Involved Counter-urbanizationen_US
dc.typeThesis
thailis.classification.ddc152.4-
thailis.controlvocab.thashการย้ายถิ่นภายในประเทศ-
thailis.controlvocab.thashการย้ายถิ่น-
thailis.controlvocab.thashจิตวิทยาการปรึกษา-
thailis.manuscript.callnumberว 152.4 พ376ก 2563-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงกระบวนการจิตวิทยาในการย้ายถิ่นของคนเมืองกรุงสู่ชนบท ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ แบบกรณีศึกษา โดยใช้การสัมภาษณ์เชิงลึกในการเก็บรวบรวมข้อมูล จากกลุ่มผู้ให้ข้อมูลที่เคยอาศัยอยู่ในจังหวัดกรุงเทพฯ และย้ายมาอาศัยใช้ชีวิตในชนบทของประเทศไทย โดยการย้ายถิ่นเกิดขึ้นจากความสมัครใจ จำนวน 5 คน ข้อมูลจากการสัมภาษณ์นำมาตีความและวิเคราะห์เชิงเนื้อหา มีการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลจากผู้ให้ข้อมูล และอาจารย์ที่ปรึกษางานวิจัย การนำสนอผลการวิจัยแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ ความเป็นมาของกรณีศึกษา และกระบวนการจิตวิทยาในการย้ายถิ่นความเป็นมาของกรณีศึกษา เป็นการบอกเล่าประสบการณ์ชีวิต ตั้งแต่แรกเริ่มก่อนการย้ายถิ่นจวบ จนกระทั่งปัจจุบัน กระบวนการทางจิตวิทยาในการย้ายถิ่น เป็นการนาเสนอกระบวนการจิตวิทยาในการย้ายถิ่น ประกอบด้วยประเด็นหลัก 3 ประเด็น ประเด็นที่หนึ่งคือ แรงจูงใจในการย้ายถิ่น ประกอบด้วยประเด็นรองคือ 1) ความต้องการเปลี่ยนวิถีชีวิต 2) การทาตามความฝัน 3) ความต้องการพัฒนาชุมชน 4) การแสวงหาความสงบเรียบง่าย 5) การหลีกหนีความเป็นเมืองของกรุงเทพฯ 6) การใฝ่หาวิถีความเป็นชนบท 7) การยืนหยัดในเป้าหมายของตน และ 8) ความพึงพอใจในพื้นที่ชนบทที่มากกว่า ประเด็นที่สอง คือ การปรับตัวในการย้ายถิ่น ประกอบด้วยประเด็นรองคือ 1) การปรับตัวให้เข้ากับวิถีในชนบท 2) สิ่งยึดเหนี่ยวยามอ่อนล้า 3) การปรับตัวในวิถีอาชีพใหม่ 4) การปรับวิถีชีวิตจากรายได้ที่น้อยลง 5) การปรับเปลี่ยนการทำงานไปตามสถานการณ์ และ 6) การอยกูั่บวัฒนธรรมความเชื่อที่แตกต่าง ประเด็นที่สามคือ สุขภาพจิตในกระบวนการย้ายถิ่น ประกอบด้วยประเด็นรองคือ 1) ความกล้าหาญ 2) การได้รับการสนับสนุนทางสังคม 3) กลไกการดูแลป้องกันความวิตกกังวล 4) ความยืดหยุ่นทนทาน 5) ความสุข และ 6) ความงอกงามภายในตน ผลการวิจัยในครั้งนี้ทำให้เข้าใจถึงกระบวนการทางจิตวิทยาในการย้ายถิ่น และประสบการณ์ในการย้ายถิ่นของคนเมืองกรุงสู่ชนบท เพื่อสามารถนาข้อมูลจากการวิจัยไปพัฒนาแนวทางการให้การปรึกษาเชิงจิตวิทยารายบุคคลให้แก่ผู้ย้ายถิ่นen_US
Appears in Collections:HUMAN: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
590132053 พีรพล จิรปฐมสกุล.pdf1.94 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.