Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72018
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรัทยา แจ้งกระจ่าง-
dc.contributor.authorธัญญาภรณ์ อินทะไชยen_US
dc.date.accessioned2021-03-16T04:02:52Z-
dc.date.available2021-03-16T04:02:52Z-
dc.date.issued2018-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72018-
dc.description.abstractThe objective of the study was to explore the condition and propose guidelines for development of internal communication effectiveness of the Faculty of Dentistry, Chiang Mai University. The study methodology included collecting quantitative data of the 177 staff member by questionnaires. The data was analyzed by descriptive statistics, frequency, percent, and average. Qualitative data was collected from focus group discussion. The results revealed that most of respondents were female, married, age twenty to thirty years old, Chiang Mai resident, not in administrative position, bachelor degree or equivalent, belong to the Dental Hospital, and post the temporary staff member. They have worked at the Faculty of Dentistry for 26 years which monthly income from 10,000 20,000 Baht without receiving any income from other sources. The opinion on effectiveness of communication processes in individuals level, which included senders, messages, communication channels, and receiver domain, shown the average at high level. The feedback of respondents to the communication process in organization level was in moderate score. Recommendations for improving communication effectiveness within the organization are that the senior management should define policies and focus on internal communication. Also balance the upward and downward communication, consider the frame of mind of the personnel, be aware of the psychological differences. Giving opportunities in face to face meetings. Other suggestions included to provide opportunities for personnel to have access to senior management, determine the content and communication channels for the recipient, promote the use of online communications and internal communication, give priority to communication to the members in the organization. It was very important to communicate in order to create a brand within the organization so that people could recognize and accept what the direction and policy of the organization.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการพัฒนาประสิทธิภาพการสื่อสารภายในองค์กรของ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeDevelopment of Internal Communication of Faculty of Dentistry, Chiang Mai Universityen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสภาพและเสนอแนะแนวทางการพัฒนาประสิทธิภาพการสื่อสารภายในองค์กรของคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยใช้การเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ โดยใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากบุคลากร จำนวน 177 คน และนำข้อมูลมาวิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ และค่าเฉลี่ย และการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ โดยการสนทนากลุ่ม ซึ่งสรุปผลการศึกษาได้ดังนี้ ผลการศึกษา พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุ 20 30 ปี สถานภาพ สมรส มีภูมิลำเนาอยู่ในภาคเหนือ (จังหวัดเชียงใหม่) ไม่มีสถานะทางการบริหาร ระดับการศึกษาสูงสุดหรือเทียบเท่าระดับปริญญาตรี สังกัดโรงพยาบาลทันตกรรม เป็นพนักงานส่วนงาน (ลูกจ้างชั่วคราว) ระยะเวลาปฏิบัติงานกับคณะ 26 ปีขึ้นไป รายได้ต่อเดือนที่ได้รับจากคณะ 10,000 20,000 บาท และไม่ได้รับรายได้จากแหล่งอื่น ความคิดเห็นต่อประสิทธิภาพกระบวนการสื่อสาร ระดับบุคคล คือ ด้านผู้ส่งสาร ด้านสาร ด้านช่องทางการสื่อสาร และด้านผู้รับสารของบุคลากรคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มีค่าเฉลี่ยความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก และความคิดเห็นต่อประสิทธิภาพกระบวนการสื่อสาร ระดับองค์กรของบุคลากรคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ผู้ตอบแบบสอบถามมีความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง ข้อเสนอแนะในการพัฒนาประสิทธิภาพการสื่อสารภายในองค์กร คือ ผู้บริหารระดับสูงควรกำหนดเป็นนโยบายและให้ความสำคัญกับการสื่อสารภายในองค์กร สร้างสมดุลแก่การสื่อสารขึ้นบนและลงล่าง คำนึงถึงกรอบทางจิตใจของบุคคล โดยตระหนักถึงความแตกต่างเชิงจิตวิทยาที่เกี่ยวข้องหาโอกาสในการประชุมแบบเผชิญหน้า เพื่อเปิดโอกาสให้บุคลากรมีโอกาสเข้าถึงผู้บริหารระดับสูงกำหนดเนื้อหาและช่องทางการสื่อสารสำหรับผู้รับสารให้เหมาะสม ส่งเสริมการใช้การสื่อสารทาง ออนไลน์ และการสื่อสารทางระบบเครือข่ายการสื่อสารภายใน ให้ความสาคัญแก่การสื่อสารแบบถึง ตัวบุคคล และการสื่อสารเพื่อสร้างแบรนด์ภายในองค์กร เพื่อให้บุคลากรรับรู้และยอมรับในความคิดหรือสิ่งที่องค์กรกาลังพยายามสื่อสารอย่างเป็นแนวทางเดียวกันen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULL.pdf3.49 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.