Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69762
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorChaiwat To-anun-
dc.contributor.advisorRatchadawan Cheewangkoon-
dc.contributor.advisorPatcharin Krutmuang-
dc.contributor.authorPhikul Intaparnen_US
dc.date.accessioned2020-09-21T09:26:53Z-
dc.date.available2020-09-21T09:26:53Z-
dc.date.issued2020-02-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69762-
dc.description.abstractSurveys of root and stem rot disease of Catharanthus roseus and collection of soil and diseased plant samples were conducted in a C. roseus nursery in Chiang Mai province. Isolation of the causal pathogen was made during November 2017 to September 2018 and 56 isolates of pathogens were obtained. The fungal isolates were proved to be pathogenic causing root rot of C. roseus by the detached leaf method and were used in a seedling inoculation test. The pathogen isolate MCRC-P05 gave the significantly highest virulence when compared to the other isolates and was followed in virulence by the isolate MCRC-P21. The pathogens were studied by morphological and molecular analysis. The pathogen isolates MCRC-P05 and MCRC-P21 were confirmed to be Pythium deliense and Phytopythium sp. by molecular analysis based on the internal transcribed spacer (ITS)-rDNA sequence. Then, the fungal sequences were aligned and they clustered with sequences obtained from the GenBank (NCBI) using a computer program. Therefore, Py. delicense and Phytopythium sp. were identified in this first report as causing C. roseus root rot in Chiang Mai province. In addition, the agrochemicals test showed various results in controling Py. deliense MCRC-P05 and Phytopythium sp. MCRC-P21. At the recommended concentration, fosetyl-aluminium and metalaxyl produced inhibition. Furthermore, propineb, thiram, phosphorous acid and tridemorph inhibited the growth of Py. deliense MCRC-P05 by more than 80%, while mancozeb inhibition was lower than 80%. Py. deliense MCRC-P05 was resistent to dimethomorph and Phytopythium sp. MCRC-P21 was resistent to thiram, dimethomorph and phosphorous acid. However, mancozeb, propineb, fosetyl-aluminium and tridemorph showed 100% inhibition of growth of Phytopythium sp. MCRC-P21 and metalaxyl resulted more than 80% inhibition of growth on Phytopythium sp. MCRC-P21. Cordyceps and two herbs of potential fungicide interest were extracted with three different solvents – ethanol, hexane fraction, and ethyl acetate and ethanol. The crude extracts were tested for inhibition of growth of the Py. deliense MCRC-P05, using the poison medium technique. The results showed that the ethyl acetate fraction extract of Vernonia amygdalina was best on growth inhibition of the pathogen; at 1,000 and 500 μg/ml it could inhibit 100 % and at 100, 50 and 10 μg/ml it inhibited the mycelial growth of the pathogen by 32, 16 and 13 %, respectively, with an ED 50 =107.08 μg/ml. All extracts of V. amygdalina showed antioxidant activities, and the ethyl acetate fraction extract showed the highest DPPH, ABTS and FRAP radical scavenging activities. The efficiency test of the crude extract on Pythium blight disease of C. roseus, used the detached leaf technique with a culture disc of the pathogen used for inoculation. The leaves had been treated with the extracts prior to inoculation. Results showed that the most effective growth inhibition (higher than 90 % at 500 μg/ml) was shown by the ethyl acetate fraction extracts. Nano-particles derived from V. amygdalina fraction extracts were tested for growth inhibition of the pathogen, using the poison medium technique. It was found that nano-particles exhibited significant antifungal activity against Py. deliense MCRC-P05 with an ED50 = 0.01 μg/ml. These effective fraction extracts were formulated as botanically derived fungicides and then evaluated in 2-month-old C. roseus plants inoculated with the pathogen MCRC-P05 and maintained in a greenhouse. The test plants grown in pots were treated with the ethyl acetate fraction extract, nano-particles and a standard chemical fungicide, metalaxyl, by applying the treatments into the soil in planting pots. Five days after treatment, the C. roseus plants treated with nano-particles and metalaxyl showed reduced disease severity, while all the plants in control treatment showed severe infection and died. This research finding is the first report using these plant extract as biofungicides to control C. roseus root rot caused by Py. deliense in Thailand.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.subjectNano-particle extractsen_US
dc.subjectCordycepsen_US
dc.subjectHerbsen_US
dc.titleControlling pythium root rot by nano-particle extracts from cordyceps and herbsen_US
dc.title.alternativeการควบคุมโรครากเน่าที่เกิดจากเชื้อราพิเทียมโดยใช้สารสกัดอนุภาคนาโนจากถั่งเช่าและสมุนไพรen_US
dc.typeThesis-
thailis.controlvocab.lcshRoot rots-
thailis.controlvocab.lcshRoots (Botany) -- Diseases and pests-
thailis.controlvocab.lcshFungi-
thailis.controlvocab.lcshNanoparticles-
thailis.controlvocab.lcshHerbs-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractสํารวจโรครากเน่าโคนเน่าของแพงพวย ทําการเก็บรวบรวมตัวอย่างดินและตัวอย่างชิ้นพืชที่ เกิดโรคในแปลงแพงพวยจังหวัดเชียงใหม่ ทําการแยกเชื้อราสาเหตุโรคตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2561 ถึงเดือน กันยายน 2562 และได้เชื้อราสาเหตุโรคในดิน จํานวน 56 ไอโซเลท เมื่อนําเชื้อรามาทดสอบ ความสามารถในการก่อโรค พบว่า เชื้อสาเหตุโรคพืช ไอโซเลท MCRCP05 มีความสามารถในการ เกิดโรคสูงสุด รองลงมาคือ ไอโซเลท MCRCP21 จากการทดสอบด้วยวิธี detached leave method และการปลูกเชื้อบนกล้าแพงพวยด้วยวิธี seedling test method เมื่อทําการศึกษาลักษณะสัณฐานวิทยา และศึกษาความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมของเชื้อราสาเหตุโรคพืช ไอโซเลท MCRC-P05 และ MCRCP21 มาวิเคราะห์ลําดับนิวคลิโอไทด์บริเวณ IIS rNA โดยใช้ไพรเมอร์ ITS5 และ ITS4 จากนั้น วิเคราะห์โดยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ร่วมกับข้อมูลของเชื้อราจากฐานข้อมูล GenBank (NCBI) พบว่า เป็นเชื่อ Pvthium deliense และ Phytopvtnium sp. ตามลําดับ ดังนั้นจึงได้รายงานการก่อโรคของเชื้อรา Py. deliense และ Phytopvthium sp. ซึ่งก่อให้เกิดโรครากเน่าของแพงพวยเป็นครั้งแรกในจังหวัด เชียงใหม่ จากการทดสอบความต้านทานของเชื้อรา Py, delicense MCRC-P05 และ เชื้อรา Phytopvthium sp. MCRC-P21 ต่อสารเคมีป้องกันกําจัดโรคพืช พบว่า สารเคมีป้องกันกําจัดโรคพืช nmetalaxylสามารถควบคุมเชื้อรา Pydelicense MCRCP05 ได้ทุกความเข้มข้น ส่วนเชื้อรา Phytopythium sp. MCRC-P21 พบว่า สารเคมีป้องกันกําจัดโรคพืช mancozeb, propineb, thiram และ tridemorph สามารถควบคุมเชื้อราสาเหตุโรคได้ทุกความเข้มข้น เมื่อนําถั่งเช่า สมุนไพรหนอนตายอยากและหนานเฉาเหว่ย มาสกัดสารสําคัญด้วยตัวทําละลายต่างกัน โดยสกัดด้วยตัวทําละลายเอทานอลและการสกัดไล่ขั้วด้วยเฮ กเซน เอทิลอะซิเตท และเอทานอล นําสารสกัดหยาบของแต่ละชนิดมาใช้ทดสอบการยับยั้งการเจริญของ เชื้อรา Py, deliense MCRC-P05 โดยเลี้ยงในอาหารพิษ พบว่า สารสกัดหนานเฉาเหว่ยที่สกัดไล่ขั้วด้วย เอทิลอะซิเตทมีประสิทธิภาพในการยับยั้งการเจริญเส้นใยของเชื้อราสาเหตุโรคได้ดีที่สุด โดยที่ความ เข้มข้น 1,000 และ 500 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร สามารถยับยั้งได้ 100 % และที่ความเข้มข้นที่ 100, 50 และ 10 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร สามารถยับยั้งการเจริญเส้นใยของเชื้อสาเหตุโรคได้ 32, 16 และ 13 % ตามลําดับ มีค่า ED เท่ากับ 107.08 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร จากการศึกษา ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของ สารสกัดจากหนานเฉาเหว่ย พบว่าสารสกัดจากสารสกัดไล่ขั้วด้วยเอทิลอะซิเตท มีประสิทธิภาพใน การออกฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ DPPH, ABTS และ FRAP สูงสุด การทดสอบประสิทธิภาพสารสกัด หนานเฉาเหว่ยที่สกัดไล่ขั้วด้วยเอทิลอะซิเตท ต่อโรคใบไหม้ Pythium บนใบแพงพวย โดยการใช้ เทคนิค detached leaf ด้วยการใช้ชิ้นวันเชื้อสาเหตุโรค สําหรับการปลูกเชื้อบนใบแพงพวยจะได้รับ การหยดสารเพื่อป้องกันการเกิดโรคด้วยสารสกัดก่อนปลูกเชื้อสาเหตุโรคเป็นเวลา 1 วัน ผลปรากฏว่า สารสกัดสารสกัดหนานเฉาเหว่ยที่สกัดไล่ขั้วด้วยเอทิลอะซิเตท มีประสิทธิภาพในการควบคุมโรคได้ ดีที่สุด โดยสามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อสาเหตุโรคได้มากกว่า 90 % ที่ความเข้มข้น 500 ไมโครกรัม/ มิลลิลิตร จากการทดสอบประสิทธิภาพของสารสกัดในรูปแบบนาโนต่อการยับยั้งการเจริญของเชื้อรา สาเหตุโรคโดยเลี้ยงในอาหารพิษ พบว่าสารสกัดไล่ขั้วด้วยเอทิลอะซิเตท ในรูปแบบนาโนมีประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อ Py. deliense ไอโซเลท MCRCP05 มีค่า ED, เท่ากับ 0.01 ไมโครกรัม/ มิลลิลิตร นอกจากนี้สารสกัดที่มีประสิทธิภาพได้ถูกนํามาใช้เป็นสารชีวภาพในการควบคุมโรคกับต้น แพงพวยอายุสองเดือน ปลูกเชื้อด้วยเชื้อสาเหตุโรคไอโซเลท MCRC-P05 ในเรือนทดลอง ทําการ ป้องกันกําจัดโรคในต้นแพงพวยที่ทดสอบในถุงเพาะชํา โดยใช้สารสกัดหนานเฉาเหว่ยที่สกัดไล่ขั้ว ด้วยเอทิลอะซิเตท, สารสกัดนาโน และ การใช้สารเคมี เมทาเลคซิลหลังจากการทดลองรักษาเป็นเวลา 5 วัน พบว่า กรรมวิธีที่ใช้สารเคมีเมทาเลคซิล และสารสกัดนาโน สามารถยับยั้งและลดการเกิดโรคของ เชื้อสาเหตุได้ และในส่วนของสารสกัดหนานเฉาเหว่ยที่สกัดไล่ขั้วด้วยเอทิลอะซิเตท สามารถลดการ เกิดโรคได้ ในขณะที่กรรมวิธีชุดควบคุมต้นกล้าแพงพวยแสดงอาการติดเชื้อรุนแรงและตายในที่สุด การศึกษานี้ ได้รายงานการควบคุมโรคจากการใช้สารสกัดนาโนจากหนานเฉาเหว่ย เพื่อเป็น สารชีวภาพในการควบคุมโรครากเน่าของแพงพวยจากเชื้อรา P, delicense เป็นครั้งแรกประเทศไทยen_US
Appears in Collections:AGRI: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
560851010 พิกุล อินต๊ะปาน.pdf6.01 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.