Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69554
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์ ดร. พิมพาภรณ์ กลั่นกลิ่น-
dc.contributor.advisorศาสตราจารย์ ดร. อะเคื้อ อุณหเลขกะ-
dc.contributor.authorผกาวดี กรรณิกาen_US
dc.date.accessioned2020-08-14T03:03:01Z-
dc.date.available2020-08-14T03:03:01Z-
dc.date.issued2020-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69554-
dc.description.abstractThe correct practices in prevention of multidrug-resistant organism (MDRO) transmission of nurses can prevent hospital-associated infections. The purpose of this quasi-experimental study was to compare the practices in prevention of MDRO transmission of nurses in a general hospital before and after using the creative problem solving process. Duration of the study was from May 2019 to April 2020. The samples were 14 ICU nurses of a general hospital. The study tools included the creative problem-solving meeting plan, the demographic data questionnaire, and the observation checklist of practices in prevention of MDRO transmission. Data was analyzed by using descriptive statistics and chi-square test. The activities proposed by the samples to prevent MDRO transmission using the creative problem solving process included reviewing knowledge on prevention of MDRO transmission, preparing of ready to use personal protect equipment, hand hygiene promotion by conducting hand hygiene contest, providing knowledge on hand hygiene board, and increasing hand hygiene equipment. After implementing the creative problem-solving process, correct practices in prevention of MDRO transmission of the samples increased significantly from 59.9 % to 76 % (p<0.01).This study revealed that the creative problem-solving process can be used to determine appropriately problem-solving in the context of working units and increase correct practices in prevention of MDRO transmission among nurses.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleผลของการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ต่อการปฏิบัติในการป้องกัน การแพร่กระจายเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพหลายขนานของพยาบาล ในโรงพยาบาลทั่วไปen_US
dc.title.alternativeEffect of Creative Problem Solving on Practices in Prevention of Multidrug-Resistant Organism Transmission Among Nurses in a General Hospitalen_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการปฏิบัติในการป้องกันการแพร่กระจายเชื้ออย่างถูกต้องของพยาบาลสามารถป้องกัน การติดเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพหลายขนานในโรงพยาบาลได้ การวิจัยกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบการปฏิบัติในการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพหลายขนานของพยาบาลก่อนและหลังการใช้กระบวนการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ระยะเวลาในการดาเนินการวิจัยตั้งแต่เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2562 ถึง เดือนเมษายน พ.ศ. 2563 กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลที่ปฏิบัติงาน ในหออภิบาลผู้ป่วยหนักในโรงพยาบาลทั่วไปแห่งหนึ่ง จำนวน 14 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แผนการประชุมกลุ่มการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ แบบสอบถามข้อมูลทั่วไปและแบบสังเกตการปฏิบัติในการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพหลายขนาน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและสถิติไคสแควร์ ผลการใช้กระบวนการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ พบว่า กิจกรรมที่กลุ่มตัวอย่างแนะนาให้นาไปดำเนินการเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพหลายขนาน ประกอบด้วย การทบทวนความรู้เกี่ยวกับการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพหลายขนาน การเตรียมอุปกรณ์ป้องกันร่างกายให้พร้อมใช้งาน การส่งเสริมการทาความสะอาดมือในบุคลากรโดยการประกวดการทำความสะอาดมือ การจัดบอร์ดให้ความรู้และการเพิ่มอุปกรณ์ในการทำความสะอาดมือ หลังการใช้กระบวนการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ กลุ่มตัวอย่างมีการปฏิบัติที่ถูกต้องในการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพหลายขนานเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ จากร้อยละ 59.9 เป็นร้อยละ 76.0 (p<.01) การวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่า กระบวนการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์สามารถนามาใช้ใน การกำหนดแนวทางการแก้ปัญหาที่เหมาะสมกับบริบทของหน่วยงานช่วยให้การปฏิบัติในการป้องกัน การแพร่กระจายเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพหลายขนานของพยาบาลถูกต้องเพิ่มขึ้นen_US
Appears in Collections:NURSE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
591231051 ผกาวดี กรรณิกา.pdf7.24 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.