Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69545
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอาจารย์ ดร. อารยา ผลธัญญา-
dc.contributor.authorธนวัฒน์ มณีen_US
dc.date.accessioned2020-08-14T03:02:17Z-
dc.date.available2020-08-14T03:02:17Z-
dc.date.issued2020-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69545-
dc.description.abstractThis study was quantitative research. The purposes of this study were to develop and examine a causal relationship model of factors affecting study-related burnout among high school students with the empirical data. The developed model consisted of 5 latent variables and 14 observed variables. The sample, selected by multi-stage sampling technique, consisted of 529 senior high school students. The data was collected by rating scale questionnaires, which are Study-Related Burnout questionnaire, Academic Stress questionnaire, School Engagement questionnaire and Self-Expectation questionnaire. The study found that the causal relationship model of factors affecting study-related burnout among high school students after adjusting was significantly consistent with empirical data (χ2 = 365.92, df = 64, P = .00, GFI = .91, CFI = .89, SRMR = .08). The factors that had negative affected on study-related burnout among high school students were school engagement. Self-expectation had indirect negative effect on academic stress of high school students through school engagement. School engagement had indirect negative effect on study-related burnout of high school students through academic stress.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleรูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะหมดไฟในการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายen_US
dc.title.alternativeCausal Relationship Model of Factors Affecting Study-Related Burnout Among High School Studentsen_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและตรวจสอบรูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะหมดไฟในการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยโมเดลที่ใช้ในการวิเคราะห์มีตัวแปรแฝงทั้งหมด 5 ตัวแปร และตัวแปรสังเกตได้ 14 ตัวแปร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้มาโดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน โดยเป็นนักเรียนที่ศึกษาอยู่ในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 529 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยแบบสอบถามข้อมูลลักษณะส่วนบุคคล แบบสอบถามภาวะหมดไฟในการเรียน แบบสอบถามความเครียดด้านการเรียน แบบสอบถามความรู้สึกยึดมั่นผูกพันกับโรงเรียน แบบสอบถามสัมพันธภาพระหว่างบุคคล และแบบสอบถามความคาดหวังในตนเอง ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะหมดไฟในการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายหลังจากการปรับรูปแบบมีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (χ2 = 365.92, df = 64, P = .00, GFI = .91, CFI = .89, SRMR = .08) โดยปัจจัยที่มีอิทธิพลทางตรงเชิงลบต่อภาวะหมดไฟในการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายได้แก่ ความรู้สึกยึดมั่นผูกพันกับโรงเรียน และความคาดหวังในตนเองมีอิทธิพลทางอ้อมเชิงลบต่อความเครียดด้านการเรียน โดยมีความรู้สึกยึดมั่นผูกพันกับโรงเรียนเป็นตัวแปรส่งผ่าน และพบว่าความรู้สึกยึดมั่นผูกพันกับโรงเรียนมีอิทธิพลทางอ้อมเชิงลบต่อภาวะหมดไฟในการเรียน โดยมีความเครียดด้านการเรียนเป็นตัวแปรส่งผ่านen_US
Appears in Collections:HUMAN: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610132018 ธนวัฒน์ มณี.pdf8.72 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.