Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69527
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorAsst. Prof. Dr. Bordin Chinda-
dc.contributor.authorNadtakorn Chawakulkanjanakiten_US
dc.date.accessioned2020-08-12T02:01:00Z-
dc.date.available2020-08-12T02:01:00Z-
dc.date.issued2020-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69527-
dc.description.abstractThis study investigates the ideology and identity of a collectivist society embedded in Thai online TV series through the analysis of verbal and non-verbal language. The data includes the conversations among the main family members, that is parents and children, and the screenshots of the scenes collected from two Thai TV series on the Line TV channel: Laa and Bangrak Soi 9/1. The conversations are analyzed, based on multimodal discourse analysis, to explore the ideology and identity of collectivism in Thai society. For the screenshot analysis, the visual language and signs are examined to understand the meaningful elements which convey the ideology and identity of a collectivist society, by employing Kress and van Leeuwen’s visual grammar and Peirce’s semiotics. In the analysis, the data emphasizes that Thai society can be considered a collectivist society since the main characters of the series appear to live in groups. From both series, it can be concluded that Thai people, living in a collectivist society, give priority to relationships. They maintain close relationships among the in-group members, especially among family members. They also live with in-group members, or in communities, in order to help and encourage one another as well as share goals, values, and needs among in-group members. In the series, the family members care for and love the other members. They willingly help one another to solve problems. They also place emphasis on the reliability in the family and the security of the family members by primarily giving importance to a non-confrontational attitude. This means that when they have a conflict, they attempt to end it as fast as possible to maintain good family relationships. Moreover, in a collectivist society, parents have significant roles as a teacher and as protectors in taking care of and teaching their children the norms, practices, and manners of the society. The parents, in both series, help plan their children’s lives and give good advice as good consultants. Similarly, children can consult their parents when they need suggestions for matters in their lives. Especially in the series Bangrak Soi 9/1, children are expected to be obedient to their parents.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleMultimodal Discourse Analysis on the Ideology and Identity of a Collectivist Society in the Thai TV Series Laa and Bangrak Soi 9/1en_US
dc.title.alternativeวาทกรรมวิเคราะห์ในสื่อหลากรูปแบบในเรื่องคตินิยม และอตัลกัษณ์ของสังคมรวมหมู่ในละครซีรีส์ไทยเรื่องล่าและบางรัก ซอย 9/1en_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าฯ นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคตินิยม และอัตลักษณ์ของสังคมรวมหมู่ในละคร ซีรีส์ไทยออนไลน์โดยผ่านการวิเคราะห์วัจนะภาษา และอวัจนะภาษา ข้อมูลในการศึกษาครั้งนี้ ประกอบไปดว้ยบทสนทนาระหว่างสมาชิกในครอบครัว ได้แก่ พ่อ แม่ และลูก และภาพหน้าจอจาก ละครซีรีส์ ซึ่งถูกรวบรวมมาจากละครซีรีส์ไทยสองเรื่องทางช่องไลน์ทีวี ได้แก่เรื่องล่า และบางรัก ซอย 9/1 บทสนทนาจากทั้งสองเรื่องถูกวิเคราะห์โดยใช้วาทกรรมวิเคราะห์ในสื่อหลากรูปแบบเพื่อ ที่จะคน้หาคตินิยม และอตัลกัษณ์ของสังคมรวมหมู่ในสังคมไทย ในส่วนของภาพหนา้จอ ภาษาภาพ และสัญลกั ษณถ์ ูกวิเคราะห์เพื่อที่จะเขา้ ใจองคป์ ระกอบที่สื่อถึงคตินิยม และอตั ลกั ษณ์ของสังคมรวม หมู่ โดยการใชท้ฤษฏีการอ่านภาพถ่าย และสัญญศาสตร์ ผลการวิเคราะห์เน้นย ้าให้เห็นว่า สังคมไทยถูกมองว่าเป็นสังคมรวมหมู่ เพราะตวั ละครหลกั ของละครซีรีส์อยรู่วมกนัเป็นกลุ่ม จากละครซีรีส์ทั้งสองเรื่อง สามารถสรุปได้ว่า คนไทยที่อยู่ในสังคม รวมหมู่ให้ความสา คญั ในเรื่องของความสัมพนั ธ์ พวกเขารักษาความสัมพนั ธ์อนั ใกลช้ ิดกบั บุคคลใน กลุ่มของพวกเขา โดยเฉพาะอย่างยิ่งความสัมพันธ์ของสมาชิกในครอบครัว คนไทยยงัอยรู่่วมกนัเป็น กลุ่ม หรือสังคม เพื่อที่จะช่วยเหลือ ให้กา ลงัใจซ่ึงกนั และกนั และแบ่งปันเป้าหมาย คุณค่า ความ ตอ้งการ ระหว่างคนในกลุ่ม ในละครซีรีส์ ยงัเห็นไดอ้ีกว่า สมาชิกในครอบครัวใส่ใจ และรักกนั พวก เขายงัเต็มใจที่จะช่วยกันแก้ไขปัญญา พวกเขาเน้นย ้าในเรื่องของความไวว้ างใจกนั ในครอบครัว และ ความปลอดภัยของสมาชิกในครอบครัว โดยยึดถือทศั นคติไม่สร้างปัญหาเป็นหลกั ซ่ึงหมายความว่า เมื่อพวกเขามีปัญหาในครอบควั พวกเขาจะพยายามแกไ้ ขปัญหาให้เร็วที่สุดเพื่อรักษาความสัมพนั ธ์ ของครอบครัวที่ดีไว ้นอกจากนี้ ในสังคมรวมหมู่ พ่อแม่มีหนา้ที่สา คญัเปรียบเป็น ครูและผปู้กป้อง ใน การดูแล และสั่งสอนลูกในเรื่องของบรรทัดฐานและมารยาททางสังคม พ่อแม่ในละครซีรีส์ทั้งสอง เรื่อง ช่วยกนั วางแผนอนาคตของลูก และเป็นที่ปรึกษาที่ให้คา แนะนา ที่ดี เช่นเดียวกนั ลูกสามารถ ปรึกษาพ่อแม่ เมื่อพวกเขาตอ้ งการคา แนะนา ในเรื่องต่างๆของชีวิต โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องของ บางรักซอย 9/1 ลูกถูกคาดหวงัให้เชื่อฟังพ่อแม่en_US
Appears in Collections:HUMAN: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
590132030 ณัทกร ชวกุลกาญจนกิจ.pdf6.67 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.