Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69480
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorProfessor Dr. Warunee Fongkaew-
dc.contributor.advisorAssistant Professor Dr. Nongkran Viseskul-
dc.contributor.advisorLecturer Dr. Kangwan Fongkaew-
dc.contributor.authorKheamnareenee Rueanrudipiromen_US
dc.date.accessioned2020-08-10T01:36:09Z-
dc.date.available2020-08-10T01:36:09Z-
dc.date.issued2020-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69480-
dc.description.abstractHIV infection among young men who have sex with men (YMSM) is increasing worldwide, including in Thailand. HIV-infected YMSM need to take care of themselves, balance their health, and avoid HIV transmission to others. Existing studies showed that YMSM living with HIV still engage in risky behaviors that lead to health problems. Few studies have been conducted to understand how the lifestyle of YMSM living with HIV impacts maintenance of good health. To promote positive health outcomes among YMSM living with HIV, it is therefore crucial to study the lifestyle among YMSM living with HIV. This descriptive qualitative study aimed to explore lifestyle among YMSM living with HIV. Thai YMSM living with HIV aged 15-24 years were enrolled. Data from participants who voluntarily participated in the study were collected via in-depth interviews. The qualitative data were analyzed using thematic analysis. Twenty Thai YMSM living with HIV participated in the study. Lifestyle findings were categorized into three themes: 1) attempting to have a ‘normal’ life, comprising learning to live normally, concealing HIV status, and having hope to live a long life; 2) striving to fulfill sexual lives, including releasing sexual desire, and using condom for prevention; and 3) restyling healthy behaviors consisting of reducing risk behaviors, seeking ways to cope with stress, and managing to take ARV drugs as daily life. Regarding facilitators and barriers related to lifestyle of YMSM living with HIV, the finding were categorized into two categories: 1) enabling support to live with HIV, consisting of receiving family support and gaining peer support, and 2) facing barriers, including fear of HIV/AIDS stigma and encountering side effects of antiretroviral drugs. The findings of this study help to understand the lifestyle of YMSM living with HIV, which can be used to develop programs/strategies to promote healthy lifestyles and well-being.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleLifestyle of Young Men Who Have Sex with Men Living with HIVen_US
dc.title.alternativeวิถีชีวิตของเยาวชนชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชายที่อยู่ร่วมกับเชื้อเอชไอวีen_US
dc.typeThesis
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractการติดเชื้อเอชไอวี ในกลุ่มเยาวชนชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย (YMSM) เพิ่มขึ้นทั่วโลกรวมถึงในประเทศไทย เยาวชนชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชายที่อยู่ร่วมกับเชื้อเอชไอวีจำเป็นต้องดูแลตัวเอง รักษาสุขภาพและหลีกเลี่ยงการแพร่เชื้อเอชไอวี การศึกษาที่มีอยู่แสดงให้เห็นว่าเยาวชนชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชายที่อยู่ร่วมกับเชื้อเอชไอวียังคงมีพฤติกรรมเสี่ยงที่นำไปสู่ปัญหาสุขภาพ ยังมีการศึกษาน้อยมากที่ศึกษาว่าวิถีชีวิตของเยาวชนชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชายที่อยู่ร่วมกับเชื้อเอชไอวีส่งผลกระทบต่อการดูแลรักษาสุขภาพ ในการส่งเสริมผลลัพธ์ด้านสุขภาพที่ดีของ เยาวชนชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชายที่อยู่ร่วมกับเชื้อเอชไอวีจึงเป็นสิ่งสำคัญ การศึกษาวิถีชีวิตของเยาวชนชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชายที่อยู่ร่วมกับเชื้อเอชไอวีโดยใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพแบบพรรณนา มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจวิถีชีวิตของเยาวชนชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชายที่อยู่ร่วมกับเชื้อเอชไอวี การเลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบเจาะจง กลุ่มตัวอย่างเป็นเยาวชนชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชายที่อยู่ร่วมกับเชื้อเอชไอวี มีสัญชาติไทย อายุ 15-24 ปี รวบรวมโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยใช้การวิเคราะห์แก่นสาระ เยาวชนชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชายไทยที่อยู่ร่วมกับเชื้อเอชไอวี จำนวนยี่สิบคนที่เข้าร่วมในการศึกษา ผลการศึกษาวิถีชีวิตแบ่งออกเป็น 3 ธีมหลักคือ 1) ความพยายามในการมีชีวิต ‘ปกติ’ ซึ่งประกอบด้วย การเรียนรู้ที่จะมีชีวิตตามปกติ ปกปิดสถานะการติดเชื้อเอชไอวี และมีความหวังที่จะมีชีวิตยืนยาว 2) พยายามเติมเต็มชีวิตทางเพศ ประกอบด้วย การปลดปล่อยความต้องการทางเพศ และการใช้ถุงยางอนามัยเพื่อป้องกันการแพร่เชื้อผ่านทางเพศสัมพันธ์ และ 3) การปรับพฤติกรรมสุขภาพ ประกอบด้วย การลดพฤติกรรมเสี่ยง การค้นหาวิธีการจัดการกับความเครียด และการจัดการในการใช้ยาต้านไวรัสในชีวิตประจำวัน สำหรับสิ่งสนับสนุนและอุปสรรคที่เกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตของ เยาวชนชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชายที่อยู่ร่วมกับเชื้อเอชไอวี นั้นได้แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ 1) การได้รับการสนับสนุนทำให้สามารถใช้ชีวิตอยู่กับการติดเชื้อเอชไอวี ประกอบด้วยการได้รับแรงสนับสนุน จากครอบครัว และการได้รับแรงสนับสนุนจากเพื่อน และ 2) การเผชิญกับอุปสรรค ประกอบด้วย กลัวการถูกตีตราจากการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ และ การเผชิญกับผลข้างเคียงของยาต้านไวรัส ผลจากการศึกษาครั้งนี้ช่วยให้เข้าใจวิถีชีวิตของเยาวชนชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชายไทยที่ติดเชื้อเอชไอวี ซึ่งสามารถนำผลการศึกษาที่ได้มาใช้ ในการพัฒนาโปรแกรม/กลยุทธ์เพื่อส่งเสริมวิถีชีวิตและภาวะสุขภาพที่ดีในกลุ่มเยาวชนชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชายไทยที่อยู่ร่วมกับเชื้อเอชไอวีen_US
Appears in Collections:NURSE: Theses



Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.