Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69471
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. บุญพิชชา จิตต์ภักดี-
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ทรียาพรรณ สุภามณี-
dc.contributor.authorกิตติศักดิ์ จันทร์สะอาดen_US
dc.date.accessioned2020-08-10T01:34:57Z-
dc.date.available2020-08-10T01:34:57Z-
dc.date.issued2020-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69471-
dc.description.abstractThe competencies of the head nurses are important for achieving the goals of organizations and hospitals. The objectives of this study were to develop the competency framework of head nurses, McCormick Hospital, Chiang Mai Province based on the competency framework development of Marrelli, Tondora, & Hoge, (2005). The population and samples of this study consisted of seven head nurses of McCormick Hospital, and five experts. The instrument used in the study was an interview guildline and a literature review recording form. Data collecting by reviewing the relevant literatures and interviewing with head nurses. The data analysis consisted of content analysis and calculation of content validity index. The results of this study revealed that; the competency framework of head nurses of McCormick Hospital, consisted of 11 categories and 86 behavioral indicators which were 1) personnel management competency which consisted of 15 behavioral indicators 2) budget management competency which consisted of 4 behavioral indicators 3) unit risk management competency consisted of 6 behavioral indicators 4) worthwhileness management competency consisted of 5 behavioral indicators 5) Spirit of the Second Mile competency consisted of 3 behavioral indicators 6) nursing quality competency consisted of 14 behavioral indicator 7) service behavior competency consisted of 4 behavioral indicators 8) evidence-based research and innovation competency consisted of 6 behavioral indicators 9) information and technology competency consisted of 7 behavioral indicators 10) ethical moral and professional law competency consisted of 8 behavioral indicators and 11) leadership competency consisted of 14 behavioral indicators. Nursing administrators can apply this competency framework in planning for head nurse competency development and preparing nurses who are going to be promoted to be head nurses. In addition, head nurses can use this framework as a guideline for self-development order to meet their job requirements.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการพัฒนากรอบสมรรถนะของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลแมคคอร์มิค จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeDevelopment of a Competency Framework of Head Nurses, McCormick Hospital, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractสมรรถนะของหัวหน้าหอผู้ป่วยมีความสาคัญต่อการบรรลุเป้าหมายขององค์กรพยาบาล และโรงพยาบาล การศึกษาเชิงพัฒนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนากรอบสมรรถนะของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลแมคคอร์มิค จังหวัดเชียงใหม่ โดยประยุกต์ใช้แนวคิดการพัฒนากรอบสมรรถนะของ มาเรียลลิ ทอนโดรา และฮอด์จ (Marrelli, Tondora, & Hoge, 2005) ประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญที่เป็นหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลแมคคอร์มิค จานวน 7 คน และผู้ทรงคุณวุฒิ จานวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเป็นแนวคาถามสาหรับการสัมภาษณ์ และแบบบันทึกข้อมูลจากการทบทวนวรรณกรรม เก็บข้อมูลโดยการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง และ การสัมภาษณ์หัวหน้าหอผู้ป่วย วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหาและการหาค่าดัชนีความตรง เชิงเนื้อหาของพฤติกรรมบ่งชี้สมรรถนะรายข้อ ผลการศึกษาพบว่า กรอบสมรรถนะของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลแมคคอร์มิคประกอบด้วยสมรรถนะ 11 ด้าน และพฤติกรรมบ่งชี้ความสามารถ 86 ข้อ ซึ่งจาแนกได้ดังนี้ 1) สมรรถนะด้านการบริหารจัดการบุคลากร ประกอบด้วยพฤติกรรมบ่งชี้ความสามารถ จานวน 15 ข้อ 2) สมรรถนะด้านการบริหารจัดการงบประมาณ ประกอบด้วยพฤติกรรมบ่งชี้ความสามารถ จานวน 4 ข้อ 3) สมรรถนะด้านการบริหารจัดการความเสี่ยงของหน่วยงาน ประกอบด้วยพฤติกรรมบ่งชี้ความสามารถ จานวน 6 ข้อ 4) สมรรถนะด้านการบริหารจัดการความคุ้มค่าคุ้มทุน ประกอบด้วยพฤติกรรมบ่งชี้ความสามารถ จานวน 5 ข้อ 5) สมรรถนะด้านการมี Spirit of the Second Mile (น้าใจไมล์ที่สอง) ประกอบด้วยพฤติกรรมบ่งชี้ความสามารถ จานวน 3 ข้อ 6) สมรรถนะด้านคุณภาพการพยาบาล ประกอบด้วยพฤติกรรมบ่งชี้ความสามารถ จานวน 14 ข้อ 7) สมรรถนะด้านพฤติกรรมบริการ ประกอบด้วยพฤติกรรมบ่งชี้ความสามารถ จานวน 4 ข้อ 8) สมรรถนะด้านหลักฐาน เชิงประจักษ์ งานวิจัย และนวัตกรรม ประกอบด้วยพฤติกรรมบ่งชี้ความสามารถ จานวน 6 ข้อ 9) สมรรถนะด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ประกอบด้วยพฤติกรรมบ่งชี้ความสามารถ จานวน 7 ข้อ 10) สมรรถนะด้านจริยธรรม จรรยาบรรณ และกฎหมายวิชาชีพ ประกอบด้วยพฤติกรรมบ่งชี้ความสามารถจานวน 8 ข้อ และ11) สมรรถนะด้านภาวะผู้นา ประกอบด้วยพฤติกรรมบ่งชี้ความสามารถ จานวน 14 ข้อ ผู้บริหารทางการพยาบาลสามารถนากรอบสมรรถนะนี้ไปใช้วางแผนพัฒนาสมรรถนะของหัวหน้าหอผู้ป่วย และเตรียมพยาบาลที่จะเข้าสู่ตาแหน่งหัวหน้าหอผู้ป่วย นอกจากนี้หัวหน้าหอผู้ป่วยสามารถใช้กรอบแนวคิดนี้เป็นแนวทางในการพัฒนาตนเอง เพื่อให้มีคุณสมบัติเหมาะสมกับหน้าที่ ต่อไปen_US
Appears in Collections:NURSE: Independent Study (IS)



Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.