Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69323
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorAssoc. Prof. Dr. Sujitra Tiansawad-
dc.contributor.advisorAsst. Prof. Dr. Jantararat Chareonsanti-
dc.contributor.advisorAsst. Prof. Dr. Petsunee Thungjaroenkul-
dc.contributor.authorNareerat Boonnateen_US
dc.date.accessioned2020-08-05T03:49:52Z-
dc.date.available2020-08-05T03:49:52Z-
dc.date.issued2014-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69323-
dc.description.abstractIntimate partner violence (IPV) during pregnancy occurs throughout the world. This issue is a large concern for community and society because it not only carries health risks for the woman but also affects child health. This cross-sectional study aimed to examine factors predicting the occurrence of IPV during pregnancy. Two hundred and thirty pregnant women, attending the prenatal clinic at a university hospital were purposively selected to participate. Six questionnaires were used to collect data: demographic data form, the revised Rosenberg Self-Esteem Scale, the A-Z Stress Scale, the revised Multidimensional Scale of Perceived Social Support, the Kansas Marital Satisfaction Scale, and the Index of Spousal Abuse. The reliability coefficients of all instruments were found to be acceptable, ranging from .80 to .96. Descriptive statistics and binary logistic regression were employed to analyze the data. Results revealed that the prevalence of IPV during pregnancy was 11.7%, with physical, non-physical and both physical and non-physical abuse occurring at rates of 3.5%, 4.3%, and 3.9% respectively. Binary logistic regression demonstrated that stress (OR = 1.03; 95% CI, 1.01-1.04) and marital satisfaction (OR = .84; 95% CI, .73 - .96) were significant predictors of IPV during pregnancy. These two co-predictors could explain 26.3% (by Negelkerke R2) of the total variance for occurrence of IPV during pregnancy. The findings of the study provide health care providers with a better understanding of the risk factors for the occurrence of intimate partner violence during pregnancy. It is recommended that screening for IPV should be done on a routine basis as part of nursing care during the first prenatal visit. Furthermore, counseling should be provided for pregnant women affected by IPV to prevent severe consequences on mother and unborn child.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleFactors Predicting Occurrence of Intimate Partner Violence During Pregnancy Among Thai Pregnant Womanen_US
dc.title.alternativeปัจจัยทำนายการเกิดความรุนแรงจากคู่สมรสขณะตั้งครรภ์ในสตรีตั้งครรภ์ไทยen_US
dc.typeThesis
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractความรุนแรงจากคู่สมรสขณะตั้งครรภ์เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นในทั่วโลก ประเด็นปัญหานี้ได้รับการตระหนักในชุมชนและสังคมมากขึ้น เนื่องจากผลกระทบที่เกิดขึ้นสามารถส่งผลทั้งต่อสตรีตั้งครรภ์และทารกในครรภ์ การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาแบบภาคตัดขวาง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบปัจจัยที่สามารถทำนายการเกิดความรุนแรงจากคู่สมรสขณะตั้งครรภ์ โดยคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงตามคุณสมบัติ ในสตรีตั้งครรภ์ที่ฝากครรภ์ในหน่วยฝากครรภ์โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย จำนวน 230 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วย แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล แบบประเมินความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง แบบประเมินความเครียดขณะตั้งครรภ์ แบบประเมิน แรงสนับสนุนทางสังคม แบบประเมินความพึงพอใจในชีวิตสมรส และแบบประเมินการเกิด ความรุนแรงขณะตั้งครรภ์ แบบสอบถามทั้งหมดมีค่าความเชื่อมั่นอยู่ระหว่าง .80 ถึง .96 ซึ่งเป็นระดับที่ยอมรับได้ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณาและสถิติถดถอยโลจิสติค ผลการศึกษาพบความชุกของการเกิดความรุนแรงขณะตั้งครรภ์ร้อยละ 11.7 โดยที่พบความรุนแรงด้านร่างกาย ความรุนแรงที่ไม่ใช่ด้านร่างกาย และทั้งสองประเภท ร้อยละ 3.5, 4.3 และ 3.9 ตามลำดับ จากการวิเคราะห์สถิติถดถอยโลจิสติคพบว่า ความเครียด (OR = 1.03; 95% CI, 1.01-1.04) และความพึงพอใจในชีวิตสมรส (OR = .84; 95% CI, .73 - .96) เป็นตัวทำนายการเกิดความรุนแรงขณะตั้งครรภ์ ตัวแปรทั้ง 2 ตัว ร่วมกันอธิบายความผันแปรของการเกิดความรุนแรงขณะตั้งครรภ์ได้ร้อยละ 26.3 (โดยวิธีของเนเกลเคิร์ก) จากผลการศึกษาครั้งนี้จะทำให้ผู้ให้บริการทางสุขภาพเข้าใจปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดความรุนแรงจากคู่สมรสขณะตั้งครรภ์มากขึ้น ข้อเสนอแนะจากผลการศึกษาครั้งนี้ คือ สตรีตั้งครรภ์ทุกรายควรได้รับการคัดกรองการเกิดความรุนแรงจากคู่สมรสเป็นประจำ เมื่อมาฝากครรภ์ในหน่วยฝากครรภ์ นอกจากนี้ควรจัดให้มีหน่วยให้คำปรึกษาเพื่อให้การช่วยเหลือสตรีตั้งครรภ์ที่ประสบปัญหาความรุนแรงจากคู่สมรสขณะตั้งครรภ์ เพื่อเป็นการป้องกันและบรรเทาผลกระทบที่รุนแรงทั้งของมารดาและทารกในครรภ์อย่างทันท่วงทีen_US
Appears in Collections:NURSE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf4.74 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.