Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69280
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพรรณพิไล ศรีอาภรณ์-
dc.contributor.advisorปิยะนุช ชูโต-
dc.contributor.authorฐิติพร แสงพลอยen_US
dc.date.accessioned2020-08-03T09:07:33Z-
dc.date.available2020-08-03T09:07:33Z-
dc.date.issued2015-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69280-
dc.description.abstractMothers with preterm delivery risk breastfeeding failure due to health conditions of newborns and separation immediately after birth. This quasi-experimental research aimed to compare the breastfeeding behavior among mothers with preterm delivery between a control and an experimental group. The subjects consisted of 44 mothers with preterm delivery who admitted to delivery at Nakornping Hospital and Lamphun Hospital from May to November 2014. The subjects were purposively selected for the control group and the experimental group, with twenty-two in each group. The control group received routine postpartum care and the experimental group received both routine postpartum care and the social support plan for promoting breastfeeding behavior. The research instruments were 1) the Social Support Plan for Promoting Breastfeeding Behavior among Mothers with Preterm Delivery, 2) the Breastfeeding Manual for Mothers with Preterm Babies, and 3) the Breastfeeding Behavior among Mothers with Preterm Delivery Assessment. Data were analyzed using descriptive statistics, Chi-square test, Mann – Whitney U test and Wilcoxon matched pair test. The finding of this study revealed that mothers with preterm delivery in the experimental group had statistically significantly higher breastfeeding behavior scores than the control group (p < 0.001). The study results provide guidance for nurse-midwives to successfully support breastfeeding among mothers with preterm delivery.en_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการสนับสนุนทางสังคมen_US
dc.subjectการให้นมen_US
dc.subjectมารดาหลังคลอดก่อนกำหนดen_US
dc.titleผลของการสนับสนุนทางสังคมต่อพฤติกรรมการให้นมมารดาของมารดาหลังคลอดก่อนกำหนดen_US
dc.title.alternativeEffect of social support on breastfeeding behavior among mothers with preterm deliveryen_US
dc.typeThesis
thailis.classification.nlmcW 4-
thailis.controlvocab.meshSocial support-
thailis.controlvocab.meshBehavior-
thailis.controlvocab.meshBreast feeding-
thailis.controlvocab.meshInfant, premature-
thailis.manuscript.callnumberW 4 ฐ234ผ 2558-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractมารดาคลอดก่อนกำหนดมีความเสี่ยงต่อการไม่ประสบความสำเร็จในการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา เนื่องจากภาวะสุขภาพของทารกแรกเกิดและการถูกแยกจากกันทันทีหลังคลอด การศึกษาวิจัยแบบกึ่งทดลองครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมการให้นมมารดาของมารดาคลอดก่อนกำหนดระหว่างกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง กลุ่มตัวอย่างเป็นมารดาคลอดก่อนกำหนดจำนวน 44 ราย ที่มาคลอดในโรงพยาบาลนครพิงค์และโรงพยาบาลลำพูน ตั้งแต่เดือนพฤษภาคมถึงพฤศจิกายน พ.ศ. 2557 เลือกกลุ่มตัวอย่างตามคุณสมบัติที่กำหนดโดยแบ่งเป็นกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองกลุ่มละ 22 ราย กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ ส่วนกลุ่มทดลองได้รับทั้งการพยาบาลตามปกติและแผนการสนับสนุนทางสังคมต่อพฤติกรรมการให้นมมารดา เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการสนับสนุนทางสังคมต่อพฤติกรรมการให้นมมารดาของมารดาคลอดก่อนกำหนด 2) คู่มือการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาในมารดาคลอดก่อนกำหนด 3) แบบประเมินพฤติกรรมการให้นมมารดาของมารดาคลอดก่อนกำหนด วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา การทดสอบไคสแควร์ สถิติทดสอบแมนวิทนีย์ยู และสถิติทดสอบวิลคอกซันจับคู่เครื่องหมายตำแหน่ง ผลการวิจัยพบว่า มารดาคลอดก่อนกำหนดกลุ่มทดลองมีคะแนนพฤติกรรมการให้นมมารดาสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .001) ผลการวิจัยครั้งนี้เป็นแนวทางสำหรับพยาบาลผดุงครรภ์ ในการสนับสนุนการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาในมารดาคลอดก่อนกำหนดให้ประสบความสำเร็จต่อไปen_US
Appears in Collections:NURSE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf3.66 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.