Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69272
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมบูรณ์ นุชประยูร-
dc.contributor.authorศุภชัย จันทร์เลนen_US
dc.date.accessioned2020-08-03T07:56:14Z-
dc.date.available2020-08-03T07:56:14Z-
dc.date.issued2015-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69272-
dc.description.abstractThis independent study has employed load research data for the short-term electricity demand forecasting in the northern zone of the Provincial Electricity Authority, which is divided into three regions. The load research data was collected every 15-minute interval over the years 2008-2012. The harmonics model is applied to the data in 2008-2011 and the forecasting result is validated with the data in 2012. It was shown that there are two approaches to forecast the load over 15-minute period on the monthly peak day. The first approach considers the historical data from the same month of preceding years, while the second approach considers the historical data from the preceding months. The forecasting errors were expressed by using the mean absolute deviation, the mean squared error, the mean absolute percentage error, and the coefficient of determination. The load research data has been adjusted to improve the forecasting performance when the forecasting errors exceed pre-specified threshold. It was found that the fifth harmonic model is proper to forecast the load on the monthly peak day. The forecasting results of Residential Service (Schedule 11) has too high errors so that the forecasting models are not acceptable. But, the forecasting results of Small General Service (Schedule 20), Medium General Service (Schedule 30), and Large General Service (Schedule 40) are acceptable. The forecasting errors of Medium General Service were minimum. The forecasting results in the PEA-N1 region were much better than those of the PEA-N2 and PEA-N3 regions.en_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคen_US
dc.subjectการพยากรณ์en_US
dc.titleการพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้าระยะสั้นจำแนกตามประเภทผู้ใช้และพื้นที่บริการของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคen_US
dc.title.alternativeShort-Term electricity demand forecasting classified by User type and area of the provincial electricity authorityen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc333.7932-
thailis.controlvocab.thashการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค-
thailis.controlvocab.thashการใช้พลังงานไฟฟ้า-
thailis.controlvocab.thashพลังงานไฟฟ้า-
thailis.manuscript.callnumberว 333.7932 ศ462ก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระนี้ได้ใช้ข้อมูลโหลดวิจัยสำหรับการพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้าระยะสั้นในเขตพื้นที่ภาคเหนือของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ซึ่งแบ่งพื้นที่บริการออกเป็น 3 เขต การเก็บข้อมูลโหลดวิจัยเกิดขึ้นทุก 15 นาที ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2551-2555 แบบจำลองฮาร์มอนิกส์ถูกนำมาใช้กับข้อมูลในปี พ.ศ. 2551-2554 และผลการพยากรณ์ได้รับการทวนสอบกับข้อมูลปี พ.ศ. 2555 ได้มีการแสดงให้เห็นว่ามีสองแนวทางที่จะพยากรณ์โหลดทุกคาบเวลา 15 นาทีของวันที่มีความต้องการไฟฟ้าสูงสุดของเดือน แนวทางแรกพิจารณาข้อมูลในอดีตจากเดือนเดียวกันของปีก่อนหน้า แนวทางที่สองพิจารณาข้อมูลในอดีตจากเดือนก่อนหน้า ความคลาดเคลื่อนของการพยากรณ์ถูกแสดงโดยใช้ค่าเบี่ยงเบนสัมบูรณ์เฉลี่ย ค่าผิดพลาดกำลังสองเฉลี่ย ค่าร้อยละผิดพลาดสัมบูรณ์เฉลี่ย และค่าสัมประสิทธิ์ของการกำหนด ข้อมูลโหลดวิจัยถูกปรับเพื่อปรับปรุงผลการพยากรณ์เมื่อความคลาดเคลื่อนของการพยากรณ์มีค่าเกินกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ พบว่าแบบจำลองฮาร์มอนิกส์อันดับห้าเหมาะสมกับการพยากรณ์โหลดของวันที่มีความต้องการไฟฟ้าสูงสุดของเดือน ผลการพยากรณ์ของผู้ใช้ไฟฟ้าประเภทที่อยู่อาศัย (อัตรา 11) มีความผิดพลาดสูงเกินกว่าที่จะยอมรับได้ แต่ผลการพยากรณ์ของผู้ใช้ไฟฟ้าประเภทกิจการขนาดเล็ก (อัตรา 20) กิจการขนาดกลาง (อัตรา 30) และกิจการขนาดใหญ่ (อัตรา 40) ยอมรับได้ ความคลาดเคลื่อนของการพยากรณ์ของผู้ใช้ไฟฟ้าประเภทกิจการขนาดกลางมีค่าต่ำที่สุด ผลการพยากรณ์ของเขต กฟน.1 มีค่าที่ดีกว่าอย่างเห็นได้ชัดเมื่อเทียบกับเขต กฟน.2 และเขต กฟน.3en_US
Appears in Collections:ENG: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf9.56 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.