Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69208
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอาจารย์ ดร.อนิรุท ไชยจารุวณิช-
dc.contributor.authorวีระศักดิ์ ปัญญาราชen_US
dc.date.accessioned2020-07-31T00:49:45Z-
dc.date.available2020-07-31T00:49:45Z-
dc.date.issued2015-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69208-
dc.description.abstractThis research was studied to improve efficiency of a hoist gear set of a tower crane using reverse engineering technique. It was focused on the characteristics and properties of a hoist gear part, including dimension, composition, microstructure and hardness as well as hardening process. It was found that the original gear was made from low alloy steel with chromium and molybdenum addition or SCM 425 grade. Hardness at surface and at the base of teeth of the gear was 60 and 42 HRC, respectively. The hardness depth having 550 HV was about 0.7 mm. The microstructure at surface was martensite whereas the base of the teeth was bainite. Compared to the original part, gears produced by a local machining shop had smaller width and longer height of their teeth about 10%. SCM 440 grade steel, medium carbon steel, was used to manufacture the gear set due to a limitation of supply in Chiang Mai area. New gear set manufactured by gear hobbing process in this study had better accuracy in dimension, comparing to the damaged gear from the local shop. The hardness profile at the base of the teeth was improved by carrying out experiments on a cylinder and gear specimens with different heat treatment conditions. It was believed that the developed gears might have better efficiency, leading to longer life.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการประยุกต์ใช้ชุดเทคนิควิศวกรรมย้อนรอยเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพของเฟืองยกของปั้นจั่นแบบหอสูงen_US
dc.title.alternativeApplication of Reverse Engineering Technique for Efficiency Improvement of Hoist Gears of Tower Craneen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้ศึกษาเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพของเฟืองชุดยกของปั้นจั่นแบบหอสูงโดยใช้เทคนิควิศวกรรมย้อนรอย มุ่งเน้นด้านคุณลักษณะและคุณสมบัติของชุดเฟืองชุดยกของ ทั้งใน ด้านขนาด ส่วนผสมทางเคมี โครงสร้างทางจุลภาค และความแข็ง รวมถึงกระบวนการชุบแข็ง จากการศึกษาพบว่าเฟืองต้นแบบผลิตมาจากเหล็กกล้าผสมต่ำเกรด SCM 425 ซึ่งมีการเติมโครเมียมและโมลิบดีนัม มีความแข็งผิวฟันและความแข็งใจกลางเฟือง 60 และ 42 HRC ตามลำดับ ความลึกผิวแข็งที่ค่าความแข็ง 550 HV ที่ระยะลึกจากผิว 0.7 มิลลิเมตร มีโครงสร้างจุลภาคเป็นมาร์เทนไซท์บริเวณผิวชิ้นงาน ขณะที่โคนฟันเฟืองเป็นโครงสร้างเบนไนท์ เมื่อเทียบเฟืองต้นแบบ เฟืองที่ผลิตจากโรงกลึงในพื้นที่มีขนาดของฟันที่เล็กและยาวกว่าเฟืองต้นแบบประมาณ 10% ทำจากเหล็กกล้าผสมคาร์บอนปานกลางเกรด SCM 440 เนื่องจากข้อจำกัดเท่าที่สามารถจัดหาได้ในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ เฟืองชุดใหม่ผลิตขึ้นมาด้วยวิธี Gear hobbing มีขนาดที่เที่ยงตรงกว่าเมื่อเทียบกับเฟืองชิ้นที่เสียหายของทางโรงกลึงในพื้นที่ ลักษณะความแข็ง ณ ตำแหน่งโคนฟันเฟืองได้รับการปรับปรุง โดยการดำเนินการทดลองกับชิ้นงานเพลากลมและเฟืองทดสอบที่ใช้สภาวะการอบชุบต่างกัน ซึ่ง เชื่อได้ว่าเฟืองที่ได้รับการปรับปรุงขึ้นมานี้จะมีประสิทธิภาพและอายุการใช้งานที่ยาวนานกว่าen_US
Appears in Collections:ENG: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf4.82 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.