Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69173
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรศ.ดร.โกสุมภ์ สายจันทร์-
dc.contributor.advisorรศ.พรทิพย์ เธียรธีรวิทย์-
dc.contributor.authorอรพรรณ นามพิชัยen_US
dc.date.accessioned2020-07-30T06:15:35Z-
dc.date.available2020-07-30T06:15:35Z-
dc.date.issued2014-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69173-
dc.description.abstractThis study uses a mixed method which consists of quantitative and qualitative types of research. The purpose of the study is to examine the levels of the understanding of the concepts of ASEAN Community by the students of Vocational Certificate program, and to find the readiness of students and staff of Rajamangala University of Technology Lanna for the integration of ASEAN Community, and also to further prepare them for the up-coming cooperation. The collecting of data is conducted with the use of questionnaires on 436 students. The collected data is then evaluated by using frequency distribution, finding the mean and percentage. From 15 staff, the data is collected by interviews, and then the data is analyzed. From the study, it is found that the majority of the subjects have an average level of basic understanding of the concepts of ASEAN Community, and they are ready to change their attitude and are prepared for new changes and social diversities. For the part of the institution, it is found that the administrators encourage the employment of foreign teachers for the benefit of students. ASEAN Community is a cooperation of Southeast Asian countries with the purpose to establish the region’s recognition on a global scale in terms of economy, politics, society, and culture that conform with the objectives of the Community’s and its three pillars. Furthermore, the Thai education systems should have a reformation on its policies and regulation in accordance with the 7-fields of free labor markets, in order to promote the development of economy and education especially in the fields of technology, agriculture, and industry. Additionally, the reformation of regulations and policies of the education systems would also prepare students in Thailand to have the required skills in order for them to enter employment in their fields of preferences. Similarly, the Vocational Certificate program in Rajamangala University of Technology Lanna emphasizes on both academic and professional or career learning processes with the hope that students will be able to utilize their knowledge and skills for competition in the labor market. Additionally, it is crucial that students of Rajamangala University of Technology Lanna be enhanced with English communication skills for career opportunity in ASEAN community and further on the international levels. In regard to the preparation for the cooperation of ASEAN Community of the staff and students of Rajamangala University of Technology Lanna, it has been found that the majority of the subjects have agreed that the preparation should be explicit and practical. The University should promote activities, and the participation of students in the activities, related to the understanding of the concepts of ASEAN Community, which will in turn help them to compete and equip themselves with required skills; for instance, the administrators, lecturers, staff and students participate in the same activities or form collaboration that require them to develop skills in planning and decision-making, etc., which will benefit both the students and the institution in future.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความพร้อมของนักศึกษาและบุคลากรมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนen_US
dc.title.alternativeReadiness of Students and Personnel of Rajamangala University of Technology Lanna for ASEAN Communityen_US
dc.typeIndependent Study (IS)-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้มีเป็นการศึกษาวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Method) ประกอบด้วยการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) และการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research)โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความรู้ความเข้าใจข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) รวมถึงเพื่อทราบถึงความพร้อมของนักศึกษาและบุคลากร และเพื่อเสนอแนวทางในการสร้างความพร้อมของนักศึกษาและบุคลากร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลแล้วนำมาประมวลผลด้วยการแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย จากกลุ่มตัวอย่างนักศึกษา จำนวน 436 คน และใช้แบบสัมภาษณ์เป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลแล้วนำมาวิเคราะห์ข้อมูลแบบพรรณนา จากกลุ่มตัวอย่างบุคลากร จำนวน 15 คน ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีความรู้ความเข้าใจข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนอยู่ในระดับปานกลาง และมีความพร้อมในการปรับทัศนคติเรื่องนักศึกษาเคารพและยอมรับความหลากหลายทางสังคม มากที่สุด ในส่วนความพร้อมของสถานศึกษา พบว่า สถานศึกษามีความพร้อมในนโยบายของผู้บริหารเรื่องการให้ความสำคัญในการจ้างอาจารย์ชาวต่างชาติ มากที่สุด และความพร้อมของบุคลากรในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนพบว่า ประชาคมอาเซียนเป็นการกำหนดและตกลงในระดับนโยบายซึ่งเป็นการรวมตัวกันของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เพื่อสร้างความร่วมมือระหว่างประเทศในภูมิภาคหรือระหว่างภูมิภาค โดยมีบทบาทบนเวทีระดับโลกมากยิ่งขึ้นเป็นการแสดงถึงความเจริญก้าวหน้าเติบโตทางเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและวัฒนธรรมที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์และสามเสาหลักของประชาคมอาเซียน ทางด้านการศึกษาของไทยควรมีการกำหนดกฎเกณฑ์มาตรฐานต่าง ๆ เพื่อให้สอดคล้องกับอาชีพหลัก 7 อาชีพ ที่ถูกกำหนดในอาเซียนเพื่อส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจและส่งเสริมการพัฒนาการศึกษาโดยเฉพาะทางด้านเทคโนโลยี เกษตรกรรม อุตสาหกรรม ที่เป็นการเพิ่มทางเลือกให้แก่นักศึกษาเพื่อนำไปสู่การทำงานในอนาคตของนักศึกษาไทยเพราะการศึกษานั้นเป็นพื้นฐานของการพัฒนาคุณภาพของคน รวมถึงการศึกษาในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาที่เน้นด้านวิชาการควบคู่กับด้านวิชาชีพที่เน้นให้นักศึกษาได้ปฏิบัติสามารถแข่งขันสู่ตลาดแรงงานได้ แต่ทั้งนี้มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาจำเป็นต้องมีการเสริมทักษะภาษาอังกฤษให้กับนักศึกษาซึ่งถือว่าเป็นจุดอ่อนในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนและส่งผลกระทบถึงการแข่งขันกับนานาประเทศ ในการเสนอแนวทางการสร้างความพร้อมของนักศึกษาและบุคลากร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีความคิดเห็นว่าสถานศึกษาควรมีการเตรียมความพร้อมที่สร้างรูปแบบความรู้ความเข้าใจที่เป็นนามธรรมและแสดงออกอย่างชัดเจน ควรมีส่งเสริมและสนับสนุนการจัดกิจกรรมหรือการเข้าร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับประชาคมอาเซียนมากยิ่งขึ้นเพื่อสร้างโอกาสการแข่งขันและเป็นการช่วยพัฒนาทักษะความรู้ความสามารถ เช่น ผู้บริหาร คณาจารย์ บุคลากร และนักศึกษามีการทำกิจกรรมหรือปฏิบัติงานร่วมกันในการกำหนดนโยบาย การวางแผน การตัดสินใจ ที่เปิดโอกาสและส่งเสริมให้เกิดความพร้อมยิ่งขึ้นเพื่อจะทำให้ระบบการศึกษามีการประเมินและวัดผลในระดับมาตรฐานเดียวกันทั้งหมดทำให้เกิดประโยชน์ต่อการศึกษาและผู้เรียนสูงสุดอันจะส่งผลต่อประเทศในอนาคตได้en_US
Appears in Collections:SOC: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf2.46 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.