Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69126
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์อรพิณ สันติธีรากุล-
dc.contributor.authorชาญ เมืองเกษมen_US
dc.date.accessioned2020-07-27T07:58:41Z-
dc.date.available2020-07-27T07:58:41Z-
dc.date.issued2015-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69126-
dc.description.abstractThe objective of this independent study was to study job satisfaction of generation Y employees at Mae Moh Power Plant, Lampang Province. The population was 464 generation Y employees with work period not exceeding 5 years. The tool for collecting data was questionnaire. The analysis was based on the concept by Herzberg’s Two Factor Theory and Importance-Performance Analysis (IPA). The data was analyzed using descriptive statistics, namely frequency, percentage and mean. The results of the study showed that most employees were male, 26-30 years old, single, with diploma/vocational certificate. They were level 3 technicians. Their work period was 3-4 years. Most employees worked in operational department. Their monthly income was 15,000-20,000 baht. Most had previous work experience. The reason for choosing Mae Moh Power Plant was security, near their home and family. The employees showed high level of satisfaction toward the overall work factors. Their satisfaction towards supporting factors was at the high level, in the following order: relations with peers and subordinators, job security, personal life, relations with supervision, status, working condition, supervision, company policy and administration, and compensation and welfares. Their satisfaction towards motivation factors was at the high level, in the following order: achievement, responsibility, work itself, advancement and recognition.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความพึงพอใจในการทำงานของพนักงาน เจนเนอเรชั่นวายในโรงไฟฟ้าแม่เมาะ จังหวัดลำปางen_US
dc.title.alternativeJob Satisfaction of Generation Y Employees at Mae Moh Power Plant, Lampang Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจในการทำงานของพนักงานเจนเนอเรชั่นวายที่เข้าทำงานในโรงไฟฟ้าแม่เมาะ จังหวัดลำปาง โดยทำการศึกษาจากประชากร คือ พนักงานเจนเนอเรชั่นวายที่ทำงานในโรงไฟฟ้าแม่เมาะ จังหวัดลำปาง ที่มีอายุงานไม่เกิน 5 ปี ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล จำนวน 464 คน ศึกษาข้อมูลโดยอ้างอิงตามทฤษฎีสองปัจจัยของ Herzberg นำข้อมูลมาประมวลผลโดยใช้ค่าความถี่ (Frequency) ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และการวิเคราะห์โดยใช้แนวคิดการวิเคราะห์ความสำคัญและความพึงพอใจ (Importance-Performance Analysis: IPA) จากการรวบรวมข้อมูล ความพึงพอใจในการทำงานของพนักงานเจนเนอเรชั่นวายที่เข้าทำงานในโรงไฟฟ้าแม่เมาะ จังหวัดลำปาง ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุระหว่าง 26-30 ปี สถานภาพโสด มีการศึกษาระดับ ปวส. หรือ อนุปริญญา ส่วนใหญ่ทำงานตำแหน่งช่าง ระดับ 3 มีอายุการทำงานระหว่าง 3-4 ปี ส่วนใหญ่สังกัดหน่วยงานฝ่ายการผลิตโรงไฟฟ้าแม่เมาะ มีรายได้ต่อเดือน 15,001-20,000 บาท พนักงานส่วนใหญ่มีประวัติการทำงานมากก่อนเข้าทำงานโรงไฟฟ้า สาเหตุที่เลือกมาทำงานที่โรงไฟฟ้าแม่เมาะ จังหวัดลำปางเพราะมีความมั่นคง ใกล้บ้านและครอบครัว ผลการศึกษาพบว่า พนักงานเจนเนอเรชั่นวายมีความพึงพอใจต่อปัจจัยในการทำงานโดยรวมอยู่ในระดับมาก ซึ่งสามารถแยกได้เป็นปัจจัยค้ำจุนและปัจจัยจูงใจ โดยปัจจัยค้ำจุนมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก สามารถเรียงลำดับปัจจัยตามค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ ความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงานและผู้ใต้บังคับบัญชา ความมั่นคงในการทำงาน ชีวิตส่วนตัว ความสัมพันธ์กับผู้บังคับบัญชา ตำแหน่งงาน สภาพการทำงาน การบังคับบัญชาและการควบคุมดูแล นโยบายและการบริหาร และค่าตอบแทนและสวัสดิการ ตามลำดับ ส่วนปัจจัยจูงใจมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากเช่นกัน สามารถเรียงลำดับปัจจัยตามค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ ความสำเร็จในการทำงาน ความรับผิดชอบ ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน และการได้รับการยอมรับนับถือ ตามลำดับen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf2.93 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.