Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69111
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์พรรณิภา ไพบูลย์นิมิตร-
dc.contributor.authorโยธิน อ้ายพิงค์ชัยen_US
dc.date.accessioned2020-07-25T03:04:49Z-
dc.date.available2020-07-25T03:04:49Z-
dc.date.issued2015-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69111-
dc.description.abstractThis independent study aimed to develop of Educational Multimedia Management System of The Prince Royal’s College in Chiang Mai province. System analysis, database design and system development were implemented by the researcher. In this system, the users could be divided into 5 groups: administrators, system administrators, teachers, committee for examining the media quality and students. Also, there were comprised of seven stages: verifying the right to employ this system, managing databases of the users, managing uploaded data, examining the media quality, managing learning media, presenting instruction and reporting information. The most important part of the system was examining the media quality, managing learning media which were to analyze data previously before presenting for the users to use then. Learning media management system of The Prince Royal’s College, Chiang Mai was developed by systematizing the Intranet in the system to web browsers. In research process, PHP programs was used as an instrument for designing and developing the user contact and MySQL programs was used as a data management instrument. From the survey of satisfaction after using the system from 40 participants:2 administrators, 2 system administrators, 12 teachers, 4 committee for examining the media quality and 20 students, The results of the study reveal that the most factors that users satisfied were the system application (85%). Other factors were also satisfied respectively as follows: the second the accuracy in progressing (80%); The third was the quickness in using (75%); the fourth was working step reduction (72.5%) and the last was paper-wasted reduce in reports (67.5%), In summary, the overall satisfaction was at the good level (45.3%) In conclusion, the Educational Multimedia Management System of The Prince Royal’s College in Chiang Mai province could be applied due to its accuracy of information in database system. Also, this system could be useful for all teacher and students in further study.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการพัฒนาระบบการจัดการสื่อการเรียนรู้มัลติมีเดียของโรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeDevelopment of an Educational Multimedia Management System of Prince Royal's College, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการพัฒนาระบบการจัดการสื่อการเรียนรู้มัลติมีเดียของโรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ โดยผู้ค้นคว้าได้ทำการวิเคราะห์ระบบออกแบบฐานข้อมูลรวมทั้งพัฒนาระบบโดยแบ่งกลุ่มผู้ใช้ออกเป็น 5 กลุ่มได้แก่ผู้บริหาร ผู้ดูแลระบบครูผู้สอน คณะกรรมการตรวจสอบคุณภาพสื่อและนักเรียน โดยระบบประกอบด้วยกระบวนการย่อย7 กระบวนการคือการตรวจสอบสิทธิ์การใช้งาน การจัดการข้อมูลพื้นฐานของผู้ใช้งาน การจัดการข้อมูลสื่อที่อัพโหลด การตรวจสอบคุณภาพสื่อ การจัดการเรียนรู้สื่อ การแสดงคำแนะนำและการออกรายงานสารสนเทศซึ่งส่วนที่สำคัญของระบบดังกล่าวคือส่วนจัดการข้อมูลสื่อที่อัพโหลดและการตรวจสอบคุณภาพสื่อ ซึ่งจะมีการวิเคราะห์ข้อมูลสื่อก่อนที่จะให้สื่อนั้นแสดงให้ผู้ใช้ได้เรียนรู้ ซึ่งระบบการจัดการสื่อการเรียนรู้มัลติมีเดียของโรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย ใช้เทคโนโลยีอินทราเน็ตในการประสานการทำงานของระบบโดยเรียกใช้งานระบบผ่านเว็บเบราเซอร์เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาระบบคือใช้โปรแกรมพีเอชพีในการออกแบบและพัฒนาส่วนติดต่อผู้ใช้และใช้โปรแกรมมายเอสคิวแอลในการจัดการฐานข้อมูล ผลการสำรวจความพึงพอใจต่อการใช้งานระบบของผู้ใช้ระดับต่าง ๆ จำนวน 40 คนได้แก่ผู้บริหารจำนวน 2 คนผู้ดูแลระบบจำนวน 2 คนครูผู้สอน จำนวน 12 คน คณะกรรมการตรวจสอบคุณภาพสื่อ จำนวน 4 คนและนักเรียนจำนวน 20 คนพบว่าผู้ใช้ระบบมีความพึงพอใจในลำดับที่หนึ่งคือระดับมากที่สุดได้แก่ การนำระบบมาประยุกต์ใช้งานจริง(ร้อยละ85.0) ลำดับที่สองคือมีความ พึงพอใจระดับมากได้แก่ มีความถูกต้องแม่นยำในการประมวลผล(ร้อยละ80.0)ลำดับที่สามถึงห้าคือมีความพึงพอใจในระดับมากได้แก่ ความสะดวกรวดเร็วในการใช้งาน(ร้อยละ 75.0) ลำดับที่สี่ได้แก่ ประหยัดเวลา ลดขั้นตอนการทำงาน(ร้อยละ72.5) และลำดับที่ห้าได้แก่ ลดการใช้งานกระดาษในการรายงานผลต่าง ๆ เกี่ยวกับสื่อ(ร้อยละ 67.5) ตามลำดับ ส่วนความพึงใจต่อระบบโดยภาพรวมทั้งหมด มีความพึงพอใจในระดับมาก(ร้อยละ 45.3) สรุปผลการศึกษาพบว่าระบบการจัดการสื่อการเรียนรู้มัลติมีเดียของโรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สามารถนำมาประยุกต์ใช้งานได้ มีความถูกต้องของข้อมูลสารสนเทศในระบบฐานข้อมูลซึ่งจะเป็นประโยชน์สำหรับครูผู้สอนและนักเรียนในการศึกษาเรียนรู้ต่อไปen_US
Appears in Collections:GRAD-Sciences and Technology: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf6.16 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.