Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69080
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเศกสิน ศรีวัฒนานุกูลกิจ-
dc.contributor.advisorพรทิพย์ เธียรธีรวิทย์-
dc.contributor.authorชานนท์ เหล่าขวัญสถิตen_US
dc.date.accessioned2020-07-24T03:14:07Z-
dc.date.available2020-07-24T03:14:07Z-
dc.date.issued2014-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69080-
dc.description.abstractThis study has the objectives to examine the economic and social impact of carving entrepreneur groups in San Pathong District, Chiang Mai Province from economic and social crises. It also includes adjustment of entrepreneur groups in Marketing Mix from these crises. This study was collected data by interview entrepreneur group’s 86 representative sample members. The analysis was performed upon the results of descriptive statistics and using Likert Scale to evaluate economic and social impact level. The investigation found carving entrepreneur groups got high impact from economic impact such as lower income, lower expenses in daily life, higher debt. On the other hand social impact was also high such as high stress that bad for both physical and mental health. In investigation adjustment part, 86 representative sample members, there were 48 members (56% of the all) who adjust their business in Marketing Mix and 38 members (44%) who didn’t adjust their business. The factor in Marketing Mix that adjusted entrepreneur groups choosing first is Price, all 48 members (100%). Second is Product, 38 members (79.2%). Third is Place, 18 members (37.5%) Fourth is Promotion, 11 members (22.9%)en_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการปรับตัวen_US
dc.subjectผู้ประกอบการen_US
dc.subjectถนนสายไม้en_US
dc.titleการปรับตัวของกลุ่มผู้ประกอบการกลุ่มถนนสายไม้ อำเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeAdjustment of wood carving entrepreneur groups in San Pathong district, Chiang Mai provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)-
thailis.classification.ddc338.092-
thailis.controlvocab.thashผู้ประกอบการ-
thailis.controlvocab.thashงานไม้-
thailis.controlvocab.thashการแกะสลักไม้ -- ไทย (ภาคเหนือ)-
thailis.controlvocab.thashศิลปหัตถกรรม -- แง่เศรษฐกิจ -- เชียงใหม่-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 338.092 ช255ก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์คือเพื่อศึกษาผลกระทบด้านเศรษฐกิจและสังคมของผู้ประกอบการธุรกิจหัตถกรรมไม้แกะสลักในถนนสายไม้อำเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ จากวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจและการเมือง รวมถึงการปรับตัวตามหลักส่วนประสมทางการตลาดของผู้ประกอบการธุรกิจหัตถกรรมไม้แกะสลักในถนนสายไม้อำเภอสันป่าตองจังหวัดเชียงใหม่จากวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจและการเมือง โดยการสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างผู้ประกอบการธุรกิจหัตถกรรมบนถนนสายไม้อำเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 86 ราย การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนาและการให้น้ำหนักของผลกระทบโดยใช้ลิเคิร์ทสเกล ผลศึกษาพบว่า ผลกระทบด้านเศรษฐกิจมีผลต่อผู้ประกอบการธุรกิจหัตถกรรมไม้แกะสลักอยู่ในระดับมาก เช่น รายได้ที่ได้รับน้อยลงกว่าเดิม การใช้จ่ายในชีวิตประจำวันที่น้อยลง ภาวะหนี้สินที่เพิ่มพูน ส่วนผลกระทบด้านสังคมอยู่ในระดับมากเช่นกัน ซึ่งได้แก่ การก่อให้เกิดความเครียดที่ส่งผลต่อสุขภาพกาย และสุขภาพจิต ในด้านการปรับตัวพบว่ากลุ่มตัวอย่าง 86 ราย มีจำนวน 48 ราย ที่มีการปรับตัวตามหลักส่วนประสมทางการตลาดคิดเป็นร้อยละ 56 และไม่มีการปรับตัวอยู่ 38 ราย คิดเป็นร้อยละ 44 การปรับตัวที่ผู้ประกอบการเลือกใช้เป็นอันดับ 1 คือ เรื่องราคาผลิตภัณฑ์ คิดเป็นร้อยละ 100 จำนวน 48 ราย อันดับ 2 คือ เรื่องผลิตภัณฑ์ คิดเป็นร้อยละ 79.2 จำนวน 38 ราย เรื่องช่องทางการจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ 18 ราย คิดเป็นร้อยละ 37.5 เรื่องการส่งเสริมทางการตลาด 11 ราย คิดเป็นร้อยละ 22.9 ตามลำดับen_US
Appears in Collections:SOC: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf2.39 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.