Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69045
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์ ดร. ชูชีพ พุทธประเสริฐ-
dc.contributor.advisorอาจารย์ ดร. สุวรรณ หมื่นตาบุตร-
dc.contributor.authorวรสิทธิ์ ยาวิลาศen_US
dc.date.accessioned2020-07-23T06:09:11Z-
dc.date.available2020-07-23T06:09:11Z-
dc.date.issued2015-02-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69045-
dc.description.abstractThis study is aimed to: 1) study the result of the evaluation of performance quality of teacher assistant on readiness and intensive development in Wiang Haeng, Chiang Mai Primary Education Service Area 3; and 2) to comprehend the problems and suggestions in improving performance quality of teachers assistant in Wiang Haeng, Chiang Mai Primary Education Service Area 3. The population of this study was comprised of 8 school administrators, 9 teachers, 9 honorary basic education commissions and 66 teacher assistants in the academic year 2012. There were 2 tools used in this research which were: 1) a questionnaire used with the teacher assistants, and 2) a structural interview form used with school administrators, teachers and honorary basic education commissions. The statistics used for data analysis were mean and standard deviation. The result of the research can be summarized as follows: 1. For the of performance quality of teachers assistant on readiness and intensive development in Wiang Haeng, Chiang Mai Primary Education Service Area 3, it found that it was in good level in both performance and behavior. 2. For the suggestion on the performance quality of teacher assistant on readiness and intensive development in Wiang Haeng, Chiang Mai Primary Education Service Area 3, it found that the teacher assistants could adapt to the new colleagues, community and environment as they could work with teacher friends. The secondary aspect was that the teacher assistants lacked of working experience. It is suggested that there should be arranged training, orientation and advice on teachers’ law and discipline to enhance them with knowledge and working skills. They should be implanted with good moral and ethnic so that they could realize their duties and responsibilities. As for the performance, it found that the teacher assistants had too much workload which was somehow beyond their capability and irrelevant to their proficiency. The teacher assistants also lacked of working experience such as financial and material aspects. It is suggested that they should be provided and supported with knowledge and measurements such as training or seminar in order to enhance their ability in teaching and basic working performance, etc.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleผลการประเมินคุณภาพการปฏิบัติงานของครูผู้ช่วยอำเภอเวียงแหง ตามกระบวนการเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้ม เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3en_US
dc.title.alternativeEvaluation for Performance Quality of Teachers Assistant on Readiness and Intensive Development Process in Wiang Haeng District, Chiang Mai Primary Education Service Area 3en_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาผลการประเมินคุณภาพการปฏิบัติงานของ ครูผู้ช่วยอำเภอเวียงแหงตามกระบวนการเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้ม เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 และ 2) เพื่อศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะในการพัฒนาคุณภาพ การปฏิบัติงานของครูผู้ช่วยอำเภอเวียงแหงตามกระบวนการเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้ม เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 โดยประชากรที่ศึกษาได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาจำนวน 8 คน ครูจำนวน 9 คน ผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานจำนวน 9 คน และครูผู้ช่วย จำนวน 66 คน ในปีการศึกษา 2555 เครื่องมือที่ใช้มี 2 ฉบับ ประกอบด้วย (1) แบบสอบถามดำเนินการสอบถามครูผู้ช่วย (2) แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างใช้สัมภาษณ์ผู้บริหารสถานศึกษา ครู และผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลจะเป็นค่าสถิติพื้นฐาน คือ ค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ผลการศึกษาพบว่า 1. คุณภาพการปฏิบัติงานของครูผู้ช่วยอำเภอเวียงแหงตามกระบวนการเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้ม เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 พบว่ามีคุณภาพอยู่ในระดับดี ทั้งด้านการปฏิบัติงาน และการปฏิบัติตน 2. ปัญหาและข้อเสนอแนะในการพัฒนาคุณภาพการปฏิบัติงานของครูผู้ช่วย อำเภอเวียงแหงตามกระบวนการเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้ม เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 ด้านการปฏิบัติตน พบว่า การปรับตัวของครูผู้ช่วยเข้ากับคนองค์กร ชุมชน สภาพแวดล้อมใหม่ ๆ และการทำงานร่วมกับเพื่อนครูยังมีน้อย รองลงมา คือ ครูผู้ช่วยขาดประสบการณ์ในการทำงาน สำหรับข้อเสนอแนะ ได้แก่ ควรจัดอบรมพัฒนา ชี้แจง ชี้แนะรายละเอียดเกี่ยวกับ กฎหมาย ระเบียบวินัยแนวทางในการปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ครู เพิ่มพูนความรู้ ทักษะในการทำงาน ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ให้เข้าใจและตระหนักถึงภาระหน้าที่ความรับผิดชอบ ที่ได้รับ ส่วนด้านการปฏิบัติงาน พบว่า ภาระงานที่ครูผู้ช่วยได้รับมอบหมายมากเกินความสามารถ ไม่ตรงกับความรู้ความสามารถ ความถนัดของตนเอง ครูผู้ช่วยขาดความรู้ความเข้าใจ ขาดประสบการณ์ในการทำงาน เช่น งานด้านการเงิน งานด้านพัสดุ สำหรับข้อเสนอแนะ คือ ส่งเสริม สนับสนุน ให้ความรู้โดยวิธีการต่าง ๆ เช่น อบรม สัมมนา เพื่อพัฒนาความรู้ความสามารถทั้งในการสอน ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการปฏิบัติงาน เป็นต้นen_US
Appears in Collections:EDU: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf2.9 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.