Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68917
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอาจารย์ ดร. เอื้อบุญ เอกะสิงห์-
dc.contributor.authorฉัตรกมล ธรรมราชen_US
dc.date.accessioned2020-07-21T05:37:58Z-
dc.date.available2020-07-21T05:37:58Z-
dc.date.issued2015-12-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68917-
dc.description.abstractThe purpose of this study was to explore the marketing mix affecting customers towards purchasing goods from shops in fitness centers in mueang Chiang Mai District. The samples of this study consisted of customers of fitness centers in Mueang Chiang Mai District who purchased any goods from store in fitness centers. As the research instrument, the questionnaire was used to collect data from 300 samples. The data was analyzed by descriptive statistics namely frequency, percentage, mean and cross-tabulation. The results of this study showed that most of the respondents were male, 20-30 years old, single, graduated with Bachelor’s degree. They were students with monthly income of under 10,000 baht. The study of the respondent’s exercise behavior showed that mostly workout 3-5 times a week. They had spend an average of 1-2 hour per time. They mostly take place close to home and mostly prefer cardio workouts. The mostly type of exercise is running. They mostly workout at 18.00-21.00 O'clock. The most purchasing goods are drinking waters. The most popular store is 7-Eleven. They preferred to purchasing goods from shops outside fitness centers rather than shops in fitness centers. The mostly spent is 20-50 baht per time. In terms of marketing mix affecting customers towards purchasing goods from shops in fitness centers in mueang Chiang Mai District, the respondents rated the overall marketing mix at the high level in the following order: place, product, price and promotion. From considering individual elements, the respondents highest rated marketing mix are as follows. For place, cleanliness of store. For product, the cleanliness of product and safety products for health. For price, goods quality at a reasonable price. For promotion, Advertising through various media. In addiction to other criteria, which result depend on gender, age, income and workout times.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleส่วนประสมการตลาดที่มีผลต่อลูกค้าในการซื้อสินค้าจากร้านค้าในฟิตเนสในอำเภอเมืองเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeMarketing Mix Affecting Customers Towards Purchasing Goods from Shops in Fitness Centers in Mueang Chiang Mai Districten_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงส่วนประสมการตลาดที่มีผลต่อลูกค้าในการซื้อสินค้าจากร้านค้าในฟิตเนสในอำเภอเมืองเชียงใหม่ โดยกลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้ คือ ผู้มาใช้บริการฟิตเนสที่มีการซื้อสินค้าจากร้านค้าในฟิตเนสซึ่งตั้งอยู่ในเขตอำเภอเมืองจังหวัดเชียงใหม่ โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 300 ราย แล้วทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) ประกอบด้วย การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และการจัดข้อมูลในรูปแบบตารางไขว้ (Cross-Tabulation) ผลการศึกษา พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีช่วงอายุ 20-30 ปี มีสถานภาพโสด มีการศึกษาระดับปริญญาตรี ส่วนใหญ่เป็นอาชีพนักเรียน/นักศึกษา และมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนไม่เกิน 10,000 บาท ผลการศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการออกกำลังกาย พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ใช้ฟิตเนสโดยเฉลี่ย 3-5 ครั้งต่อสัปดาห์ มีระยะเวลาในการใช้บริการฟิตเนส 1-2 ชั่วโมงต่อครั้ง สถานที่ตั้งของฟิตเนสที่ไปใช้บริการอยู่ในบริเวณหมู่บ้าน รูปแบบการออกกำลังกายเน้นแบบคาร์ดิโอหรือเผาผลาญพลังงานโดยการการวิ่ง ช่วงเวลาในการออกกำลังกายคือ 18.01-21.00 น. สินค้าที่นิยมซื้อในช่วงออกกำลังกายมากที่สุดคือ น้ำดื่ม การเลือกซื้อสินค้าจากร้านค้าส่วนใหญ่นิยมซื้อสินค้าจากร้านค้าภายนอกฟิตเนสมากกว่าร้านค้าภายในฟิตเนส โดยซื้อจากร้านเซเว่นอีเลเว้น และจำนวนเงินที่ใช้ซื้อสินค้าต่อครั้งอยู่ที่ 20-50 บาท ผลการศึกษาส่วนประสมการตลาดที่มีผลต่อลูกค้าในการซื้อสินค้าจากร้านค้าในฟิตเนสในอำเภอเมืองเชียงใหม่ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามให้ความสำคัญกับส่วนประสมการตลาดด้านช่องทางการจัดจำหน่ายมากที่สุด รองลงมาคือ ส่วนประสมการตลาดด้านผลิตภัณฑ์ ส่วนประสมการตลาดด้านราคา และส่วนประสมการตลาดด้านส่งเสริมการตลาด ตามลำดับ ผลการศึกษาในแต่ละปัจจัยย่อยนั้น พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามให้ความสำคัญกับปัจจัยย่อยด้านช่องทางการจัดจำหน่าย เรื่องความสะอาดของร้านค้ามากที่สุด รองลงมาคือ ปัจจัยย่อยด้านผลิตภัณฑ์ ในเรื่องความสะอาดของผลิตภัณฑ์และความปลอดภัยต่อสุขภาพ ปัจจัยย่อยด้านราคา ในความเหมาะสมของราคาต่อคุณภาพ ปัจจัยย่อยด้านส่งเสริมการเรื่องตลาด ในเรื่องมีโฆษณาผ่านสื่อต่างๆ ตามลำดับ นอกจากนี้ยังพบว่า ปัจจัยส่วนประสมการตลาดมีผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าในฟิตเนส แตกต่างกันไปตาม เพศ อายุ รายได้ และช่วงเวลาที่ออกกำลังกายen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf3.96 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.