Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66851
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์ ดร.ชูชีพ พุทธประเสริฐ-
dc.contributor.advisorอาจารย์ ดร.สุวรรณ หมื่นตาบุตร-
dc.contributor.authorกิตติพงศ์ กาบคำen_US
dc.date.accessioned2019-09-23T03:49:16Z-
dc.date.available2019-09-23T03:49:16Z-
dc.date.issued2015-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66851-
dc.description.abstractThis study was aimed to: 1) study conditions and problems of information management for school administration in Samoeng Educational Quality Development Network Group 2, Chiang Mai Province; 2) study the need of information for school administration in Samoeng Educational Quality Development Network Group 2, Chiang Mai Province; and 3) study guidelines for information management for school administration in Samoeng Educational Quality Development Network Group 2, Chiang Mai Province. The population in this study were consisted of school administrators, teachers whose responsibility was on information system of the school, chiefs of each division, academic teachers, supervisors of each department and a chairman of Samoeng Educational Quality Development Network Group 2, Chiang Mai Province, in the academic year of 2012, the experts on information system from Samoeng Educational Quality Development Network Group 2, responsible officers of information system in the school which successfully manages the information system, and supervisors of Samoeng Educational Quality Development Network Group 2. The tools used in this study were questionnaire and structural questionnaire. The data gained was then analyzed by frequency, percentage, mean and standard deviation. The outputs of the study were presented in chart together with the explanation and analysis by each subject matter. The result of the study can be summarized as follows: 1. The conditions and problems of information management for school administration in Samoeng Educational Quality Development Network Group 2, Chiang Mai Province, were concluded into issues. For the academic management, it found that the information was used in planning and determining policy of the school which was applied to learning arrangement. For the problems, it found that the timeframe was limited and the operation did not follow the plan. For the budget management, it found that the information of each year was analyzed and processed. The problem was that the timeframe was limited and the operation did not follow the plan. For the human resource management, it found that some information was used in selection and recruitment of personnel. The problem of human resource management was that the timeframe was limited and the operation did not follow the plan. And for the general management, it found that the information was stored in files. The problem was that the personnel had no knowledge and understanding in analyzing the data. 2. The need on information for school administration was that the academic management required much information. The point pertaining to highest mean was that the information was used in academic planning. The budget management required much information. The point pertaining to highest mean was that the information on budget was systematically stored which is easy to search. The human resource management required much information. The point pertaining to highest mean was that that the information on human resource management was systematically stored which is easy to search. The general management required much information. The point pertaining to highest mean was that that the information storage method was precise. 3. The guidelines for information management for school administration in Samoeng Educational Quality Development Network Group 2, Chiang Mai Province, were concluded that the academic management, budget management, human resource management and general management should set an objective and follow the plan in each section. However, the follow-up, inspection, evaluation and improvement were also in need.en_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการจัดการสารสนเทศen_US
dc.subjectการบริหารen_US
dc.subjectเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาen_US
dc.titleแนวทางการจัดการสารสนเทศเพื่อการบริหารของโรงเรียนในกลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาสะเมิง 2 จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeGuidelines for Management Information for School Administration in Samoeng Educational Quality Development Network Group 2, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc371.2-
thailis.controlvocab.thashโรงเรียน -- สะเมิง (เชียงใหม่) -- การบริหาร-
thailis.controlvocab.thashการบริหารการศึกษา -- สะเมิง (เชียงใหม่)-
thailis.manuscript.sourceว/ภน 371.2 ก344น-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพและปัญหาการจัดการสารสนเทศ เพื่อการบริหารของโรงเรียนในกลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาสะเมิง 2 จังหวัดเชียงใหม่ 2) เพื่อศึกษาความต้องการใช้ข้อมูลสารสนเทศ เพื่อการบริหารของผู้บริหารโรงเรียน ในกลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาสะเมิง 2 จังหวัดเชียงใหม่ และ 3) เพื่อศึกษาแนวทางการจัดการสารสนเทศเพื่อการบริหารของโรงเรียนในกลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาสะเมิง 2 จังหวัดเชียงใหม่ ประชากรที่ใช้คือ ผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้รับผิดชอบระบบสารสนเทศโรงเรียน ผู้บริหารระดับหัวหน้างาน ครูวิชาการ หัวหน้ากลุ่มสาระฯ และประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียนในกลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาสะเมิง 2 จังหวัดเชียงใหม่ ในปีการศึกษา 2555 ผู้เชี่ยวชาญด้านสารสนเทศจากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 2 ผู้รับผิดชอบงานสารสนเทศในโรงเรียนที่ประสบความสำเร็จในการจัดระบบสารสนเทศ และหัวหน้างานสารสนเทศสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 2 เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เสนอในรูปตารางประกอบการบรรยาย และการสังเคราะห์ประเด็นตามข้อสรุปของการประชุมบรรยายสรุปเป็นความเรียง ผลการศึกษาสรุปได้ดังนี้ 1. สภาพและปัญหาการจัดการสารสนเทศเพื่อการบริหารของโรงเรียนในกลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาสะเมิง 2 จังหวัดเชียงใหม่ คือ การบริหารงานวิชาการ พบว่า มีการนำข้อมูลมาใช้ประโยชน์ในการวางแผนและกำหนดนโยบายของโรงเรียนในการจัดการศึกษา ปัญหาคือ มีระยะเวลาที่จำกัดและการดำเนินงานไม่เป็นไปตามแผน การบริหารงานงบประมาณ พบว่ามีการนำข้อมูลในแต่ละปีการศึกษามาวิเคราะห์ ประมวลผล ปัญหาคือ ระยะเวลามีจำกัดและดำเนินงานไม่เป็นไปตามแผน การบริหารงานบุคคล พบว่า มีการนำข้อมูลบางอย่างมาประกอบในการคัดเลือก คัดสรร บริหารจัดการงานด้านบุคคล ปัญหาคือ ระยะเวลามีจำกัดหรือดำเนินงานไม่เป็นไปตามแผน และการบริหารงานบริหารทั่วไป พบว่า มีการจัดทำและจัดเก็บในรูปแบบของแฟ้มข้อมูล ปัญหาคือ บุคลากรไม่มีความรู้ความเข้าในการวิเคราะห์ข้อมูล 2. ความต้องการใช้ข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารของผู้บริหารโรงเรียน คือ การบริหารงานวิชาการมีความต้องการมาก ประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ การนำข้อมูลไปใช้ในการวางแผนงานวิชาการ การบริหารงานงบประมาณมีความต้องการมาก ประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศงานงบประมาณอย่างเป็นระบบง่ายต่อการค้นหา การบริหารงานบุคคลมีความต้องการมาก ประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศงานบุคคลอย่างเป็นระบบง่ายต่อการค้นหา การบริหารงานบริหารทั่วไปมีความต้องการมาก ประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลงานบริหารทั่วไปที่ชัดเจน 3. แนวทางการจัดการสารสนเทศเพื่อการบริหารของโรงเรียนในกลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาสะเมิง 2 จังหวัดเชียงใหม่ คือ การบริหารงานวิชาการ การบริหารงานงบประมาณ การบริหารงานบุคคล และการบริหารงานบริหารทั่วไป ควรจัดให้มีการกำหนดเป้าหมายและทำแผนตามเป้าหมาย ในแต่ละงาน และดำเนินการตามแผนรวมถึงการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และปรับปรุงแก้ไขen_US
Appears in Collections:EDU: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf3.95 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.