Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66849
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์ ดร.ศักดิ์เกษม ระมิงค์วงศ์-
dc.contributor.authorณัฏธิตา ศุกระศรen_US
dc.date.accessioned2019-09-23T03:37:46Z-
dc.date.available2019-09-23T03:37:46Z-
dc.date.issued2016-02-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66849-
dc.description.abstractThe study aims to compare the number of revision of the application due to failure to satisfy users need between applications that was developed with and without QFD. And to measure the satisfaction user of an application that was developed using QFD. Techniques of Quality Function Deployment (QFD) Phase 1 was used to converse the needs of users to provide a more detailed process and to identify tool or technical features to be the considered for developing Material Request and Issue in Factory application. After QFD, there are 13 demands and 12 tool or technical features. Next, the developed application was used by user. The period of one month is the monitoring phase same as screen system application (that without using QFD). The result shows that Material Request and Issue in Factory application have less revision than screen system application as 4 times and 24 times. This means that development of application using QFD can reduce the problem of the developers, respectively. Material Request and Issue in Factory application can satisfy the users at 94.76% from the questionnaires returned to the customer satisfaction survey.en_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectแอพพลิเคชั่นen_US
dc.subjectการเบิกและจัดจ่ายวัสดุen_US
dc.subjectเทคนิคการกระจายหน้าที่เชิงคุณภาพen_US
dc.titleการพัฒนาแอพพลิเคชั่นสำหรับการเบิกและจัดจ่ายวัสดุภายในโรงงานโดยใช้เทคนิคการกระจายหน้าที่เชิงคุณภาพen_US
dc.title.alternativeApplication Development for Material Request and Issue in Factory Using Quality Function Deployment Techniqueen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc658.5-
thailis.controlvocab.thashวิศวกรรมอุตสาหการ-
thailis.controlvocab.thashการกระจายการทำงานเชิงคุณภาพ-
thailis.controlvocab.thashการวางแผนการผลิต-
thailis.manuscript.sourceว 658.5 ณ113ก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้ เพื่อเปรียบเทียบจำนวนครั้งที่ต้องนำแอพพลิเคชั่นกลับมาแก้ไข เนื่องจากแอพพลิเคชั่นไม่สามารถตอบสนองได้ตรงตามความต้องการของผู้ใช้งาน ระหว่างแอพพลิเคชั่นที่ถูกพัฒนาขึ้นโดยไม่ใช้ และใช้เทคนิคการกระจายหน้าที่เชิงคุณภาพ และเพื่อวัดความพึ่งพอใจของผู้ใช้แอพพลิเคชั่น ที่ถูกพัฒนาขึ้นโดยใช้เทคนิคการกระจายหน้าที่เชิงคุณภาพ ผู้วิจัยได้นำเทคนิคการกระจายหน้าที่เชิงคุณภาพ (QFD) เฟส 1 มาช่วยในการแปลงความต้องการของผู้ใช้งานให้ละเอียดขึ้นเป็นลำดับจนถึงขั้นตอนระบุคุณลักษณะทางเทคนิค เพื่อนำไปเป็นข้อมูลหรือโจทย์ในการพิจารณาสำหรับการพัฒนาแอพพลิเคชั่นสำหรับการเบิกและจัดจ่ายวัสดุภายในโรงงาน หลังจากการทำเทคนิคการกระจายหน้าที่เชิงคุณภาพ ทำให้ได้ทราบว่ามีความต้องการที่เราต้องพิจารณาทั้งหมด 13 ความต้องการ และคุณลักษณะเครื่องมือ หรือเทคนิคทั้งหมด 12 ข้อ เมื่อพัฒนาแอพพลิเคชั่นตามผลที่ได้จากเทคนิคการกระจายหน้าที่เชิงคุณภาพเสร็จสมบูรณ์ จึงส่งแอพพลิเคชั่นไปให้ผู้ใช้งานได้ใช้ โดยติดตามผลเป็นระยะเวลา 1 เดือนเท่ากับแอพพลิเคชั่นระบบสกรีนที่พัฒนาโดยไม่ใช้เทคนิคการกระจายหน้าที่เชิงคุณภาพ พบว่าแอพพลิเคชั่นสำหรับการเบิกและจัดจ่ายวัสดุภายในโรงงาน มีจำนวนครั้งในการนำกลับมาแก้ไขน้อยกว่าแอพพลิเคชั่นระบบสกรีน โดยมีจำนวนครั้งในการนำแอพพลิเคชั่นกลับมาแก้ไขเท่ากับ 4 ครั้ง และ 24 ครั้งตามลำดับ แสดงว่าการพัฒนาแอพพลิเคชั่นที่มีการใช้เทคนิคการกระจายหน้าที่เชิงคุณภาพช่วยลดปัญหาหลักของผู้พัฒนาแอพพลิเคชั่นได้ นอกจากนี้ยังพบว่าแอพพลิเคชั่นสำหรับการเบิกและจัดจ่ายวัสดุภายในโรงงาน ที่มีการพัฒนาโดยใช้เทคนิคการกระจายหน้าที่เชิงคุณภาพ สามารถสร้างความพึงพอใจให้กับผู้ใช้งานได้มากถึงร้อยละ 94.76 จากการใช้แบบสอบถามกลับไปสำรวจความพึงพอใจหลังการใช้แอพพลิเคชั่นen_US
Appears in Collections:ENG: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf5.4 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.