Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66844
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ สกุลพรรณ์-
dc.contributor.advisorอาจารย์ ดร.หรรษา เศรษฐบุปผา-
dc.contributor.authorปิ่นแก้ว ประทุมทาen_US
dc.date.accessioned2019-09-23T03:21:32Z-
dc.date.available2019-09-23T03:21:32Z-
dc.date.issued2016-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66844-
dc.description.abstractAlcohol harmful drinking impacted both physical and mental health. As we have known, drinking behavior start from low risk to risk, harmful and finally, without therapy it could be an alcohol dependence. So that persons with harmful drinking needed a proper management. Self-efficacy Enhancement for Alcohol Drinking Refusal Program was the one that could help persons with harmful drinking to decline or stop drinking behavior. This operational study aimed to test the effectiveness of the Self-efficacy Enhancement for Alcohol Drinking Refusal Program among persons with harmful drinking, Ban Pongtum Tambon Health Promoting Hospital, Chiang Mai Province. There were two groups of subjects: 1) 12 persons with harmful drinking and 2) 5 health professional members. The instruments were 1) the Self-efficacy Enhancement for Alcohol Drinking Refusal Program 2) Demographic Data Form 3) the Alcohol Use Disorder Identification Test 4) the Satisfaction Questionnaire for Health Professional and 5) the Satisfaction Questionnaire for Persons with Harmful Drinking. Data were analyzed using descriptive statistics.   The results of this study revealed: 1. Alcohol drinking behavior of all subject decreased immediately after implementing the program, 83.33 percent of them could stop drinking, and after 4 weeks follow up we found that 75 percent still stop drinking, remaining subject were low risk(8.33 percent) and risk drinking levels (16.67 percent), respectively. 2. Satisfaction of health professional who implemented the program, regarding appropriate to use in service (80 percent) and conducting the program (60 percent) were at the highest level, and 60 percent of them had high level of satisfaction according to convenient for using in routine practice together with data. 3. Satisfaction of persons with harmful drinking who need the program were at the highest level, regarding nurses who implement the program (100 percent) and all activities or in each session of the program (91.67 percent). The results of this study indicated that the Self-efficacy Enhancement for Drinking Refusal Program was efficiency, it could reduce alcohol drinking behavior, so that this program should be conducted for the persons with harmful drinking.en_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการเสริมสร้างสมรรถนะแห่งตนen_US
dc.subjectเครื่องดื่มแอลกอฮอล์en_US
dc.subjectโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพen_US
dc.titleประสิทธิผลของการใช้โปรแกรมการเสริมสร้างสมรรถนะแห่งตนสำหรับการปฏิเสธการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของผู้ที่มีการดื่มแบบอันตราย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลบ้านปงตำ จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeEffectiveness of Implementing the Self-efficacy Enhancement for Alcohol Drinking Refusal Program Among Persons with Harmful Drinking, Ban Pongtum Tambon Health Promoting Hospital, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc362.292-
thailis.controlvocab.thashโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปงตำ (เชียงใหม่)-
thailis.controlvocab.thashการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์-
thailis.controlvocab.thashผู้บริโภค -- เชียงใหม่-
thailis.manuscript.sourceว/ภน 362.292 ป357ป-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการดื่มแบบอันตราย ทำให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพกาย และสุขภาพจิต เกิดพฤติกรรมการดื่ม เริ่มตั้งแต่ดื่มแบบเสี่ยงต่ำ แบบมีความเสี่ยง แบบอันตราย และแบบติด ผู้ที่มีปัญหาการดื่มแบบอันตราย จำเป็นต้องได้รับการช่วยเหลือที่เหมาะสม เพราะมีแนวโน้มจะมีพฤติกรรมการดื่มเป็นแบบติดโปรแกรมเสริมสร้างสมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธการดื่ม เป็นโปรแกรมที่สามารถช่วยให้ผู้ที่ดื่มแบบอันตรายสามารถจัดการกับปัญหาการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ได้ การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงปฏิบัติการ(operational study) เพื่อศึกษาประสิทธิผลของการใช้โปรแกรมเสริมสร้างสมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธการดื่มของผู้ที่มีการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์แบบอันตรายที่มารับบริการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปงตำ จังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ผู้ที่มีการดื่มแบบอันตราย จำนวน 12 คน และบุคลากรทีมสหวิชาชีพ จำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ประกอบด้วย 1)โปรแกรมเสริมสร้างสมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธการดื่ม (ศรีไพร โปธา, 2550) 2) แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล 3) แบบประเมินปัญหาการดื่มสุรา และ 4) แบบสอบถามความพึงพอใจของบุคลากรทีมสหวิชาชีพ และ5) แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ที่มีการดื่มแบบอันตรายที่เข้าร่วมโปรแกรม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา   ผลการศึกษาพบว่า 1. พฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พบว่าหลังสิ้นสุดโปรแกรมทันที กลุ่มตัวอย่าง ทุกรายมีพฤติกรรมการดื่มลดลงจากเดิม โดยร้อยละ 83.33 หยุดดื่มได้ และระยะติดตามผลหลังสิ้นสุดโปรแกรม 4 สัปดาห์ พบว่า กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 75 ยังคงหยุดดื่มได้ ที่เหลือดื่มแบบเสี่ยงน้อย และดื่มแบบเสี่ยงร้อยละ 8.33 และ 16.67 ตามลำดับ 2. ความพึงพอใจของผู้ใช้โปรแกรม พบว่าร้อยละ 80 ของบุคลากรทีมสหวิชาชีพมีความ พึงพอใจใน ด้านการนำโปรแกรมมาใช้มีความเหมาะสมในหน่วยงาน และร้อยละ 60 พึงพอใจเกี่ยวกับการใช้โปรแกรมว่ามีความสะดวกในการนำไปปฏิบัติงานและง่ายต่อการบันทึก ในระดับมากที่สุด และร้อยละ 60 มีความพึงพอใจ ด้านในการนำโปรแกรมมาใช้ในปฏิบัติการ ในระดับมาก 3. ความพึงพอใจของผู้รับบริการ คือ ผู้ที่มีการดื่มแบบอันตราย พบว่า กลุ่มตัวอย่าง มีความ พึงพอใจในระดับมากที่สุด ต่อพยาบาลผู้ให้การช่วยเหลือด้วยโปรแกรมนี้ ร้อยละ 91.67 และพึงพอใจในกิจกรรมหรือสิ่งที่ทำแต่ละครั้ง ของโปรแกรม ร้อยละ 83.33 ผลการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า โปรแกรมเสริมสร้างสมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธการดื่มของผู้ที่มีการดื่มแบบอันตรายมีประสิทธิภาพสามารถลดพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ได้ ดังนั้นควรมีการนำโปรแกรมดังกล่าวไปใช้ดูแลผู้ที่มีการดื่มแบบอันตรายต่อไปen_US
Appears in Collections:NURSE: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf3.35 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.