Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66843
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์ ดร.ดาราวรรณต๊ะปินตา-
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมบัติสกุลพรรณ์-
dc.contributor.authorทิพภาวรรณ์ คำโทen_US
dc.date.accessioned2019-09-23T03:19:05Z-
dc.date.available2019-09-23T03:19:05Z-
dc.date.issued2016-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66843-
dc.description.abstractMajor depressive disorders is a complex mental health problems which physically and mentally impacts patients and their families in terms of their socioeconomic status and the quality of their lives. This operational study aimed to investigate the effectiveness of implementing the Cognitive Behavior Therapy Multi-Channel Program among persons with major depressive disorders. There were three groups of subjects: 1) twenty one persons with major depressive disorder at mild to moderate levels who received services at Hod Hospital, Chiang Mai province between October 2015 and December 2015; 2) four health personnel; and 3) twenty one relatives or caregivers. The instruments used in this study included: 1) Thai PHQ-9, 2) Cognitive Behavior Therapy Multi-Channel Program for persons with major depressive disorders, 3) questionnaire of personnel opieneions of those using the program, 4) the satisfaction questionnaire for persons with major depressive disorders, and 5) the satisfaction questionnaire for relatives or caregivers. Data was analyzed using descriptive statistics.   The results of this study revealed that: 1. After participating in the Cognitive Behavior Therapy Multi-Channel Program, persons with major depressive disorders reported decreased depression from mild to moderate levels to no depressionat posttest and 2 weeks follow-up; 2. Health personnel all agreedwith program implementation; 3. Persons with major depressive disorders statisfied with the program implementation at moderate, hight and the highest level; and 4. Relative or caregiversstatisfied with the program implementation at moderate, hight and the highest level. The results of this study indicated that the Cognitive Behavior Therapy-Multichannel Program was effective in reducing depression among persons with major depressive disorders, at Hod Hospital, Chiang Mai Province. Therefore, health personnel should further implement this program for the caring of persons with major depressive disorders.en_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectโรคซึมเศร้าen_US
dc.subjectโรงพยาบาลฮอดen_US
dc.subjectการปรับความคิดen_US
dc.titleประสิทธิผลของการใช้โปรแกรมการปรับความคิดและพฤติกรรมแบบหลายช่องทางในผู้ที่เป็นโรคซึมเศร้า โรงพยาบาลฮอด จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeEffectiveness of Implementing the Cognitive Behavior Therapy Multi-Channel Program Among Persons with Major Depressive Disorders, Hod Hospital, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.nlmcW 4-
thailis.controlvocab.thashโรคซึมเศร้า -- ผู้ป่วย-
thailis.controlvocab.thashการบำบัด-
thailis.controlvocab.thashโรคซึมเศร้า-
thailis.manuscript.sourceW 4 ท236ป 2559-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractโรคซึมเศร้าเป็นโรคทางจิตเวชที่มีความซับซ้อนส่งผลกระทบต่อผู้ป่วย และครอบครัว ไม่ว่าจะเป็นทั้งทางร่างกายจิตใจสังคมและคุณภาพชีวิตการศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงปฏิบัติการ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิผลของการใช้โปรแกรมการปรับความคิดและพฤติกรรมแบบหลายช่องทางในผู้ที่เป็นโรคซึมเศร้ากลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย 3 ส่วนคือ1) ผู้ที่เป็นโรคซึมเศร้า มีอาการซึมเศร้าระดับเล็กน้อยถึงปานกลางที่มารับบริการระหว่างเดือนตุลาคม 2558 ถึงธันวาคม 2558 จำนวน 21 ราย 2) บุคลากรทีมสุขภาพจำนวน 4 ราย 3) ญาติหรือผู้ดูแลจำนวน 21 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วย 1)แบบประเมินภาวะซึมเศร้า 9 คำถาม ฉบับภาษาไทย (Thai PHQ-9) (Lotrakul, Sumrithe, &Saipanich, 2008)2) โปรแกรมการปรับความคิดและพฤติกรรมแบบหลายช่องทางในผู้ที่เป็นโรคซึมเศร้า 3) แบบสอบถามความคิดเห็นของบุคลากรทีมสุขภาพต่อการใช้โปรแกรม 4) แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ที่เป็นโรคซึมเศร้าภายหลังที่ได้รับโปรแกรม และ 5) แบบสอบถามความพึงพอใจของญาติหรือผู้ดูแลผู้ที่เป็นโรคซึมเศร้า ภายหลังที่ได้รับโปรแกรม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา   ผลการศึกษาพบว่า 1. กลุ่มตัวอย่างผู้ที่เป็นโรคซึมเศร้าทั้งหมด ที่เข้าร่วมโปรแกรมการปรับความคิดและพฤติกรรมแบบหลายช่องทางในผู้ที่เป็นโรคซึมเศร้ามีการเปลี่ยนแปลงของระดับอาการซึมเศร้า จากระดับเล็กน้อยถึงปานกลางเป็นไม่มีอาการซึมเศร้าเมื่อสิ้นสุดโปรแกรมและระยะติดตามผล 2 สัปดาห์ 2. บุคลากรทีมสุขภาพทั้งหมดเห็นด้วยกับการใช้โปรแกรม 3. ผู้ที่เป็นโรคซึมเศร้าที่ได้รับโปรแกรมมีความพึงพอใจในการได้รับโปรแกรมในแต่ละประเด็นในระดับปานกลาง มากและมากที่สุด 4. ญาติหรือผู้ดูแลผู้ที่เป็นโรคซึมเศร้า มีความพึงพอใจในการได้รับโปรแกรมในแต่ละประเด็นในระดับปานกลาง มากและมากที่สุด ผลการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าโปรแกรมการปรับความคิดและพฤติกรรมแบบหลายช่องทางในผู้ที่เป็นโรคซึมเศร้ามีประสิทธิผลในการช่วยลดอาการซึมเศร้าในผู้ที่เป็นโรคซึมเศร้า ในโรงพยาบาลฮอดจังหวัดเชียงใหม่ดังนั้นควรจะมีการนำไปใช้ในการดูแลผู้ที่เป็นโรคซึมเศร้าต่อไปen_US
Appears in Collections:NURSE: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf2.74 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.