Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66842
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปุ่น เที่ยงบูรณธรรม-
dc.contributor.authorสิริวรรณ์ วงค์อำนวยกุลen_US
dc.date.accessioned2019-09-23T03:15:13Z-
dc.date.available2019-09-23T03:15:13Z-
dc.date.issued2016-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66842-
dc.description.abstractThe study was to develop the performance of facility management indicators for condominiums in Chiang Mai. The Delphi method is used in the study by interviewing nine experienced experts, who practicing in the field of facility management, and a group of residents in each condominium. The interview sessions will be held three times in total in order to obtain the indicators used, as a tool, to evaluate the priority of indicators and benchmarking the performance of facility management. The results of the survey show that there are 49 indicators that should be used to quantify the performance of facility management for all buildings. They can be divided into 7 essential groups; Design Performance (7 indicators), Cost Performance (10 indicators), Operating / Maintenance Performance (9 indicators), Administration Performance (7 indicators), Environmental Health & Safety Performance (6 indicators), Space Management Performance (3 indicators), and Customer Performance (7 indicators). Particularly, the experts have emphasized that the most important group of indicators used to measure the performance of facility management are; the availability of equipments, tools, fire protection and accessibility of the condominium central expenses budget information. In terms of residents' perspective, the priority indicator was given to the validity of the service. After all, in order to proceed the further development of the study topic, the author has done a deeper study of those 49 indicators and came out with the most 26 indicators that should be used as a benchmark based on experts' opinions divided into 5 major groups: Cost Performance (10 indicators), Operating / Maintenance Performance (5 indicators), Administration Performance (2 indicators), Environment Health & Safety Performance (2 indicators), and Customer Performance (7 indicators).en_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectอาคารชุดen_US
dc.subjectการบริหารทรัพยากรกายภาพen_US
dc.subjectดัชนีชี้วัดen_US
dc.titleการพัฒนาดัชนีชี้วัดสมรรถนะการบริหารทรัพยากรกายภาพสำหรับอาคารชุดพักอาศัยen_US
dc.title.alternativeDevelopment of Facility Management Performance Index for Condominiumen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc643.2-
thailis.controlvocab.thashอาคารชุด -- เชียงใหม่-
thailis.manuscript.sourceว/ภน 643.2 ส373ก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษา เพื่อพัฒนาดัชนีชี้วัดสมรรถนะงานด้านบริหารทรัพยากรกายภาพที่เหมาะสมนำไปใช้วัดผลสำหรับอาคารชุดที่พักอาศัยในจังหวัดเชียงใหม่ และเนื่องจากงานด้านบริหารทรัพยากรกายภาพยังไม่เป็นที่แพร่หลายมากนัก จึงเลือกใช้เทคนิคเดลฟายในการเก็บข้อมูล โดยการสัมภาษณ์กลุ่มผู้เชี่ยวชาญทั้งหมด 9 ท่าน ที่เกี่ยวข้องหรือปฏิบัติงานในสายบริหารทรัพยากรกายภาพ การศึกษาจะสัมภาษณ์ทั้งหมดจำนวน 3 รอบ เพื่อให้ได้ดัชนีชี้วัดที่ควรนำมาใช้และควรนำมาทำการเปรียบเทียบสมรรถนะในงานบริหารทรัพยากรกายภาพ และทำการสัมภาษณ์การให้ลำดับความสำคัญของดัชนีที่ได้จากกลุ่มผู้พักอาศัยอีกครั้ง เพื่อให้ได้ข้อมูลความต้องการจากกลุ่มลูกค้าร่วมด้วย ผลการศึกษาสามารถจำแนกดัชนีชี้วัดที่ควรทำมาวัดสมรรถนะในงานบริหารทรัพยากรกายภาพสำหรับอาคารชุดทั้งหมดได้ 49 ดัชนีชี้วัด โดยแบ่งเป็น 7 กลุ่มหลัก ได้แก่ กลุ่มด้านการออกแบบ (Design Performance) มี 7 ดัชนีชี้วัด, กลุ่มด้านการเงิน (Cost Performance) มี 10 ดัชนีชี้วัด, กลุ่มด้านการจัดการและซ่อมบำรุง (Operating/ Maintenance Performance) มี 9 ดัชนีชี้วัด, กลุ่มด้านสำนักงาน (Administration Performance) มี 7 ดัชนีชี้, กลุ่มด้านสิ่งแวดล้อมละความปลอดภัย (Environment Health & safety Performance) มี 6 ดัชนีชี้วัด, กลุ่มด้านการจัดการพื้นที่ (Space Management Performance) มี 3 ดัชนีชี้วัด และกลุ่มด้านลูกค้า (Customer Performance) มี 7 ดัชนีชี้วัด โดยผู้เชี่ยวชาญให้ความสำคัญดัชนีชี้วัดในระดับที่มากเกือบทุกดัชนี โดยดัชนีที่ผู้เชี่ยวชาญให้ความสำคัญมากเป็นลำดับแรก คือ เรื่องความพร้อมของอุปกรณ์, เครื่องมือในการป้องกันอัคคีภัย และการเข้าถึงข้อมูลด้านงบประมาณค่าใช้จ่ายส่วนกลาง ส่วนกลุ่มผู้พักอาศัยในอาคารชุด พบว่าดัชนีชี้วัดที่ผู้พักอาศัยให้ความสำคัญในลำดับแรก คือ ความถูกต้องของการให้บริการ จากนั้นเพื่อให้เกิดแนวทางในการนำหัวข้อที่ได้ไปพัฒนา ผู้ศึกษาจึงนำดัชนีชี้วัดที่ได้มาสอบถามเพิ่มถึงหัวข้อที่ควรนำมาเปรียบเทียบสมรรถนะ (Benchmarking) ทำให้ทราบว่าหัวข้อที่ควรนำมาทำการเปรียบเทียบสมรรถนะ (Benchmarking) มีทั้งหมด 26 ดัชนีชี้วัด โดยแบ่งเป็น 5 กลุ่มหลัก ได้แก่ กลุ่มด้านการเงิน (Cost Performance) มี 10 ดัชนีชี้วัด, กลุ่มด้านการจัดการ และซ่อมบำรุง(Operating /Maintenance Performance) มี5ดัชนีชี้วัด, กลุ่มด้านสำนักงาน (Administration Performance) มี 2 ดัชนีชี้วัด, กลุ่มด้านสิ่งแวดล้อมละความปลอดภัย (Environment Health & safety Performance) มี 2 ดัชนีชี้วัด, กลุ่มด้านลูกค้า (Customer Performance) มี 7 ดัชนีชี้วัดen_US
Appears in Collections:ENG: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf3.84 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.