Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/48620
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรพจน์ เสรีรัฐ-
dc.contributor.authorบวรวุฒิ พรมถาวรen_US
dc.date.accessioned2018-05-02T08:35:03Z-
dc.date.available2018-05-02T08:35:03Z-
dc.date.issued2558-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/48620-
dc.description.abstractThe aim of this research was to use compressive strength test on lightweight concrete block at curing time of 28 days from small hydraulic pressing machine. To use estimate compressive strength test at curing time of 7, 14 and 21 days. Referring to lightweight concrete block testing with small hydraulic pressing machine showed that that a cost effective size of the block when using a sample block with the dimensions of 7.5x20x60 centimeters cutting to dimensions of 7.5x7.5x7.5 centimeters with curing time at 7, 14, 21 and 28 days respectively A subsequent, test of the lightweight concrete block with sample dimension of 15x15x15 centimeters and curing time at 7, 14, 21 with 28 days respectively that are compressive strength testing by universal testing machine. Therefore, the researcher uses the compressive strength testing of lightweight concrete block of two machines to compare the compressive strength of lightweight concrete block from small hydraulic pressing machine and universal testing machine. The result of compressive strength with small hydraulic pressing machine is greater than compressive strength with universal testing machine. Nevertheless speed of cylinder of two machines has different speeds that affects compressive strength of lightweight concrete block and the compression ratio is 0.87. After that, a relationship graph was constructed to estimate compressive strength of lightweight concrete block at curing time of 28 days that lightweight concrete block can be use at curing time of 7 days. And used to estimate compressive strength of lightweight concrete block without wait up to 28 days by small hydraulic pressing machine. The testing data found the mean of the percentage error of compressive strength of 0.9 %. The results of this research shows that the waiting time of compressive strength testing can be reduced and the quality level of the lightweight concrete block can classified.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการประมาณค่าen_US
dc.subjectอิฐมวลเบาen_US
dc.subjectเครื่องกดไฮดรอลิกส์ขนาดเล็กen_US
dc.titleการประมาณค่ากำลังอัดของอิฐมวลเบาโดยใช้เครื่องกดไฮดรอลิกส์ขนาดเล็กen_US
dc.title.alternativeCompressive Strength Estimation of Lightweight Concrete Block Using Small Hydraulic Pressing Machineen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc693.4-
thailis.controlvocab.thashอิฐมวลเบา-
thailis.controlvocab.thashไฮดรอลิกส์-
thailis.manuscript.callnumberว 693.4 บ177ก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้มีจุดประสงค์ เพื่อประมาณค่ากำลังอัด (Compressive Strength) ของอิฐมวลเบาที่มีระยะเวลาการบ่ม 28 วันจากเครื่องกดไฮดรอลิกส์ขนาดเล็ก โดยใช้การประมาณค่ากำลังอัดของอิฐมวลเบาที่มีระยะเวลาการบ่ม 7, 14 และ 21 วัน ในส่วนของการทดสอบหาค่ากำลังอัดของอิฐมวลเบาด้วยเครื่องกดไฮดรอลิกส์ขนาดเล็ก ได้ใช้ตัวอย่างอิฐมวลเบาขนาดปกติจากโรงงานที่ผลิต คือ ความหนา 7.5 ซม. ความกว้าง 20 ซม. ความยาว 60 ซม. ซึ่งจะแบ่งตามระยะเวลาการบ่มที่ 7, 14, 21 และ 28 วัน ตามลำดับ มาทำการตัดให้มีขนาด ความหนา 7.5 ซม. ความกว้าง 7.5 ซม. ความยาว 7.5 ซม. เพื่อเป็นการลดต้นทุนในการทดสอบ สำหรับการเปรียบเทียบค่ากำลังอัดด้วยเครื่องทดสอบวัสดุแบบยูนิเวอร์แซลขนาดมาตรฐาน ได้ใช้ตัวอย่างอิฐมวลเบาที่มีขนาด ความหนา 15 ซม. ความกว้าง 15 ซม. ความยาว 15 ซม. โดยจะใช้อิฐมวลเบาที่มีระยะเวลาการบ่มที่ 7, 14, 21 และ 28 วัน ตามลำดับ มาทำการทดสอบ ดังนั้นผู้วิจัยจึงทำการวิเคราะห์ค่ากำลังอัดของอิฐมวลเบาที่ได้จากทั้ง 2 เครื่อง เพื่อให้ค่ากำลังอัดของอิฐมวลเบาที่ได้จากเครื่องกดไฮดรอลิกส์ขนาดเล็ก สามารถเทียบเคียงกับค่ากำลังอัดที่มีมาตรฐานที่ได้จากเครื่องทดสอบวัสดุแบบยูนิเวอร์แซลขนาดมาตรฐาน ซึ่งพบว่า ค่ากำลังอัดที่ได้จากเครื่องกดไฮดรอลิกส์ขนาดเล็กมีค่ามากกว่าค่ากำลังอัดที่ได้จากเครื่องทดสอบวัสดุแบบยูนิเวอร์แซลขนาดมาตรฐาน ซึ่งความแตกต่างในด้านความเร็วของกระบอกสูบไฮดรอลิกส์ จึงส่งผลต่อค่ากำลังอัดของอิฐมวลเบา โดยมีอัตราส่วนของค่ากำลังอัด คือ 0.87 จากนั้นได้ดำเนินการสร้างกราฟความสัมพันธ์เพื่อประมาณค่ากำลังอัดของอิฐมวลเบาที่มีระยะเวลาการบ่ม 28 วัน พบว่า สามารถนำอิฐมวลเบาที่มี ระยะเวลาการบ่ม 7 วัน มาใช้ในการประมาณค่ากำลังอัดของอิฐมวลเบาได้ โดยไม่ต้องรอถึง 28 วัน ด้วยเครื่องกดไฮดรอลิกส์ขนาดเล็ก ซึ่งมีเปอร์เซ็นความคลาดเคลื่อนของผลกำลังอัดเฉลี่ย 0.9% และทำให้ลดระยะเวลาการรอในการทดสอบได้จาก 28 วัน เหลือ 7 วัน และยังสามารถแบ่งระดับคุณภาพของอิฐมวลเบาได้en_US
Appears in Collections:ENG: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.docxAbstract (words)56.54 kBMicrosoft Word XMLView/Open    Request a copy
ABSTRACT.pdfAbstract 248.52 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
FULL.pdfFull IS4.68 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.