Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/48607
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชรินทร์ มั่งคั่ง-
dc.contributor.authorกัญญา กำศิริพิมานen_US
dc.date.accessioned2018-05-02T03:09:41Z-
dc.date.available2018-05-02T03:09:41Z-
dc.date.issued2558-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/48607-
dc.description.abstractThis independent study was chiefly aimed to develop lesson plans through the implementation of the 7-stage E-learning cycle in order to promote the analytical thinking skills for Mathayom Suksa Students at Thungudomwittaya School. The sample involved 5 expert. The instruments employed throughout the study consisted of the lesson plans for geology class related to the topic of the current situation and crisis with regard to natural resources and environment. The 7-stage E-learning cycle was applied to develop 4 lesson plans with the main objective of improving the analytical thinking skills of the Mattayom 6 students of Thung-udomwittaya School. It was also used to construct the assessment form for evaluating the quality of the lesson plans. In addition, the collected data was thoroughly analyzed and manipulated using mean and standard deviation calculation. The study resulted in gaining 4 effective lesson plans in the following topics, (i.e.) (1) Current situation and crisis related to natural resources and environment; (2) precautionary and remedial measures to natural resources and environment; (3) potential remediation according to preservation standards and guidelines for permanent development; and (4) preservation and conservation of natural resources and environment. The mean values gained from evaluating the quality of the lesson plans are the following: plan 1=2.89, plan 2=2.87, plan 3=2.91, and plan 4=2.92. In conclusion, it is apparent that the lesson plans developed are appropriate for being implemented for the arrangement of effective classroom activities for Social Studies course.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectแผนการจัดการเรียนรู้en_US
dc.subjectวิชาสังคมศึกษาen_US
dc.subjectวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้นen_US
dc.subjectทักษะการคิดวิเคราะห์en_US
dc.subjectนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาen_US
dc.subjectโรงเรียนทุ่งอุดมวิทยาen_US
dc.titleการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้วิชาสังคมศึกษาโดยใช้วัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา โรงเรียนทุ่งอุดมวิทยาen_US
dc.title.alternativeกาญจนา ขอน้อยen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc300.712-
thailis.controlvocab.thashโรงเรียนทุ่งอุดมวิทยา-
thailis.controlvocab.thashสังคมศึกษา -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)-
thailis.controlvocab.thashความคิดและการคิด-
thailis.controlvocab.thashทักษะทางการคิด-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 300.712 ก232ก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้วัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา โรงเรียนทุ่งอุดมวิทยา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในครั้งนี้มีจำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วย แผนการจัด การเรียนรู้ สาระภูมิศาสตร์ เรื่องสถานการณ์และวิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยใช้วัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนทุ่งอุดมวิทยา จำนวน 4 แผน และแบบประเมินคุณภาพของแผนการจัดการเรียนรู้ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาปรากฏว่าได้แผนการจัดการเรียนรู้ 4 แผน คือ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง สถานการณ์และวิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง มาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง การแก้ปัญหาตามแนวทางการอนุรักษ์เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ผลการประเมินคุณภาพแผนการจัดการเรียนรู้ได้ผลดังนี้ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 มีค่าเฉลี่ย 2.89 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 มีค่าเฉลี่ย 2.87 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 มีค่าเฉลี่ย 2.91 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 มีค่าเฉลี่ย 2.92 สรุปได้ว่าแผนการจัดการเรียนรู้ทั้ง 4 แผน มีค่าเฉลี่ย 2.90 มีระดับความเหมาะสมมาก สามารถนำไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ในกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมได้en_US
Appears in Collections:EDU: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.docxAbstract (words)53.45 kBMicrosoft Word XMLView/Open    Request a copy
ABSTRACT.pdfAbstract237.94 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
FULL.pdfFull IS4.11 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.