Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/46062
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอนุรักษ์ ปัญญานุวัฒน์-
dc.contributor.advisorชูชีพ พุทธประเสริฐ-
dc.contributor.authorณัฐกานต์ ชุ่มใจen_US
dc.date.accessioned2018-04-10T03:43:42Z-
dc.date.available2018-04-10T03:43:42Z-
dc.date.issued2558-02-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/46062-
dc.description.abstractThe purposes of this research were 1) to study the state of the management of information system for educational internal quality assurance of Anusarnsunthorn School for the Deaf, Chiang Mai, and 2) to study the problems, suggestions and solution of the management of information system for educational internal quality assurance of this school. The population of this research consisted of 26 people. Those were 3 administrators who worked at Anusarnsunthorn School for the Deaf in academic year 2013, 2 officers responsible for the educational quality assurance, 2 officers responsible for school’s information, and 19 basic special educational heads. The instruments were a set of audit forms/surveys and interviewing format. The data were analyzed by using descriptive analysis and presented in the composition. The findings of this research were as follows. The management of information system for educational internal quality assurance of Anusarnsunthorn School for the Deaf, Chiang Mai was conducted according to the Deming Cycle (PDCA) and 7 steps of the management of information system of bureau of educational testing. Those were 1. planning for management of information system, 2. creating data collection tools, 3. compiling data, 4. auditing data, 5. evaluating, 6. presenting data and information, including 7. collecting data and information. The problems found were the officers’s limited experience, insufficient budgets and facilities on management of information system for educational quality assurance, the teachers’ limited knowledge on creating data collection tools for information technology, insystematic data complication, discontinuity of auditing system, and the officers’ limited experience and knowledge on evaluation. Furthermore, the problems found were a lack of of information dissemination on management of information system for educational quality assurance to the internal and external officers, insufficient computers especially used for collecting school’s information, and insufficient budget for information collection. The suggestion and the solution of the management of information system were as follows. 1. All the officers should be involved in formulating the policy and plan for the information management system for educational quality assurance. 2. The data collection tools should be reliable for accuracy, modern, and appropriate for the educational institutions. 3. There should be sufficient computers especially for compiling data. 4. The collected data hould be audited with accurate and current information. 5. The collected data should be checked carefully and ready to use. 6.The presented data and information should be extensive and accuracurate according to the standard of educational quality assurance, and 7.The data and information should be put in category according to the standard of educational quality assurance.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectโรงเรียนโสตศึกษาอนุสารสุนทร (เชียงใหม่)en_US
dc.subjectการจัดระบบสารสนเทศen_US
dc.subjectการประกันคุณภาพการศึกษาen_US
dc.titleการจัดระบบสารสนเทศเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาของโรงเรียนโสตศึกษาอนุสารสุนทร จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeManagement Information System for Educational Internal Quality Assurance of Anusarnsunthorn School for the Deaf, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc371.26-
thailis.controlvocab.thashโรงเรียนโสตศึกษาอนุสารสุนทร (เชียงใหม่)-
thailis.controlvocab.thashระบบการจัดเก็บและค้นข้อสนเทศ -- การศึกษา-
thailis.controlvocab.thashประกันคุณภาพการศึกษา -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashโรงเรียน -- การบริหาร-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 371.26 ณ113ก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 2 ประการ คือ เพื่อศึกษาสภาพการจัดระบบสารสนเทศเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาของโรงเรียนโสตศึกษาอนุสารสุนทร จังหวัดเชียงใหม่ และศึกษาปัญหา ข้อเสนอแนะและแนวทางการแก้ไขปัญหา การจัดระบบสารสนเทศเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ของโรงเรียนนี้ ประชากรที่ศึกษา ได้แก่ ผู้บริหารที่ปฏิบัติงานในโรงเรียนโสตศึกษาอนุสารสุนทร ปีการศึกษา 2555 จำนวน 3 คน ผู้รับผิดชอบงานประกันคุณภาพการศึกษา จำนวน 2 คน ผู้รับผิดชอบงานสารสนเทศ จำนวน 2 คน หัวหน้ามาตรฐานการศึกษาพิเศษขั้นพื้นฐาน 19 คน รวมทั้งหมด 26 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเป็นแบบตรวจสอบ/สำรวจรายการ และแบบสัมภาษณ์ โดยใช้การพรรณนาวิเคราะห์และนำเสนอเป็นความเรียง ผลการศึกษาพอสรุปได้ดังนี้ สภาพการจัดระบบสารสนเทศเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ของโรงเรียนโสตศึกษาอนุสารสุนทร จังหวัดเชียงใหม่ มีการดำเนินงานตามรูปแบบกระบวนการบริหาร งานอย่างมีคุณภาพหรือวงจร PDCA และเป็นไปตามกระบวนการจัดระบบข้อมูลสารสนเทศของสำนักทดสอบทางการศึกษาใน 7 ขั้นตอน คือ 1. การวางแผนเพื่อจัดระบบข้อมูล 2. การสร้างเครื่องมือเก็บข้อมูล 3. การรวบรวมข้อมูล 4. การตรวจสอบข้อมูล 5. การประมวลผลข้อมูล 6. การนำเสนอข้อมูลและสารสนเทศ 7. การจัดเก็บข้อมูลและสารสนเทศ ส่วนปัญหาในขั้นตอนต่าง ๆ มีดังนี้ คือ บุคลากรผู้รับผิดชอบขาดความพร้อมในด้านการวางแผนข้อมูลสารสนเทศ งบประมาณและสิ่งอำนวยความสะดวกต่าง ๆ มีไม่เพียงพอต่อความต้องการที่จะใช้ตามแผนที่กำหนดไว้ ครูขาดความรู้ความเข้าใจการสร้างเครื่องมือเก็บข้อมูลสำหรับระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ การเก็บรวบรวมข้อมูลยังไม่เป็นระบบ การตรวจสอบข้อมูลไม่มีความต่อเนื่อง บุคลากรขาดความรู้และประสบการณ์ในการประมวลผลข้อมูล เพื่อนำข้อมูลสารสนเทศไปใช้ในทางปฏิบัติ นอกจากนี้ปัญหาที่พบยังเกี่ยวกับ ขาดการเผยแพร่ข้อมูลสารสนเทศที่เป็นปัจจุบันในด้านการประกันคุณภาพการศึกษาให้แก่บุคลกรทั้งภายในและภายนอก ไม่มีคอมพิวเตอร์เฉพาะที่ใช้สำหรับจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศของโรงเรียน ส่งผลให้ระบบสืบค้นข้อมูลไม่มีประสิทธิภาพ และที่สำคัญคือ ขาดงบประมาณสนับสนุนในการจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศที่เพียงพอ ส่วนข้อเสนอแนะ และแนวทางการแก้ไขปัญหาการจัดระบบสารสนเทศ มีดังนี้ 1. บุคลากรทุกฝ่ายควรมีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายและวางแผนการจัดระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษาให้เป็นระบบและครอบคลุม ทันต่อการใช้งาน 2. เครื่องมือที่นำมาประยุกต์ใช้ต้องมีความเที่ยงตรง ชัดเจน เข้าใจง่าย ทันสมัย มีความหลากหลาย สามารถจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศได้อย่างครอบคลุมและเหมาะสมกับสภาพของสถานศึกษา 3. จัดสรรคอมพิวเตอร์เฉพาะและมีสมรรถนะสูง เพื่อใช้เก็บรวบรวมข้อมูลสารสนเทศให้เป็นระบบ สะดวกและง่ายต่อการใช้งาน 4. ตรวจสอบข้อมูลสารสนเทศทุกครั้งที่มีการเก็บข้อมูลเพื่อให้ได้ข้อมูลสารสนเทศที่มีความเที่ยงตรง และเป็นปัจจุบัน 5. ประมวลผลข้อมูลสารสนเทศอย่างเป็นระบบและรวบรวมให้เป็นปัจจุบัน เพื่อให้ทันตามกำหนดเวลาการใช้งาน 6. ข้อมูลสารสนเทศที่นำเสนอต้องครอบคลุมและตรงตามมาตรฐานการประกันคุณภาพการศึกษา และ 7. จัดเก็บข้อมูลสารสนเทศไว้เป็นหมวดหมู่ตามมาตรฐานการประกันคุณภาพการศึกษาen_US
Appears in Collections:EDU: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.docxAbstract (words)197.82 kBMicrosoft Word XMLView/Open    Request a copy
ABSTRACT.pdfAbstract 248.12 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
full.pdfFull IS4.08 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.