Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/46033
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบุศรา ลิ้มนิรันดร์กุล-
dc.contributor.advisorพงษ์ศักดิ์ อังกสิทธิ์-
dc.contributor.advisorสุรพล เศรษฐบุตร-
dc.contributor.authorณฐิตากานต์ ปินทุกาศen_US
dc.contributor.authorNathitakarn Pinthukasen_US
dc.date.accessioned2018-04-09T03:22:59Z-
dc.date.available2018-04-09T03:22:59Z-
dc.date.issued2014-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/46033-
dc.description.abstractThe study aimed to explore farmers’ practice and constraints in organic vegetable farming as well as to identify farmers’ perception and their adaptability in organic vegetable farming, to determine factors influencing farmers’ perception and adaptation in organic vegetable farming and to investigate sustainable development in farmers’ livelihood in the study areas. A total of 108 organic farmers of Chiang Mai Organic Agriculture Cooperative were randomly selected from three districts based on current farming practices experience, in transforming to organic vegetable farming in the tear of 2013. Data were collected using the semi-structured questionnaires and focus group discussion from January to April 2013. The adaptation in organic farming and farm practice were analyzed using three point rating scale method. In order to fulfill the objectives mentioned above, descriptive statistics such as percentage, average, maximum, minimum, standard deviation and multiple regression analysis were used. The findings revealed that farmers in three study areas had experience in organic vegetable production. Organic vegetable farming practice, i.e., land preparation, seed, type of crop, planting method, soil nutrient management, pest management, weed management and harvesting. The disadvantages or constraints inherent in small-farmer adoption of organic agriculture were seen to include: economic, bio-physical and knowledge constraints. The multiple regression analysis results indicated that age, education level, household labor, farm income and extension visit significantly contributed to farmers’ perception on organic vegetable production. Moreover, education level, experience, natural water and farmers’ networks or membership significantly contributed to farmers’ adaptation on organic vegetable production. In conclusion, at present the reduced chemical use in agriculture is an alternative agriculture of farmers. The perception and adaptation in organic vegetable based on five assets such as natural, physical, human, financial and social where is consider to be the key factors for sustaining farmer livelihood. Therefore, the uptake of agricultural extension and policy planner for promoting effective organic agriculture could consider five assets where as the key supporting factors in farmers’ adaptation and perception in organic agriculture which lead to sustainable farmers livelihood.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectFarmeren_US
dc.subjectOrganic vegetable productionen_US
dc.subjectSustainable livelihooden_US
dc.titleFarmers’ Perception and Adaptation in Organic Vegetable Production for Sustainable Livelihood in Chiang Mai Provinceen_US
dc.title.alternativeการรับรู้และการปรับตัวของเกษตรกรในการผลิตผักอินทรีย์เพื่อการดำรงชีพอย่างยั่งยืน ในจังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.typeThesis
thailis.classification.ddc630.959362-
thailis.controlvocab.thashFarmers -- Chiang Mai-
thailis.controlvocab.thashVegetables-
thailis.controlvocab.thashOrganic farming-
thailis.manuscript.callnumberTh/N 630.959362 N275F-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ คือ เพื่อสำรวจการปฏิบัติและอุปสรรคในการผลิตผักอินทรีย์ของเกษตรกร เพื่อระบุระดับการรับรู้ในการผลิตผักอินทรีย์ของเกษตรกร และประเมินการปรับตัวของเกษตรกรในการผลิตผักอินทรีย์ ตลอดจนเพื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อความรู้และการปรับตัวในการผลิตผักอินทรีย์ของเกษตรกรและค้นหาแนวทางที่สนับสนุนการพัฒนาวิถีชีวิตอย่างยั่งยืนในท้องถิ่นที่ทำการศึกษา การเก็บตัวอย่างโดยสุ่มจากเกษตรกรผู้ผลิตผักอินทรีย์ จำนวน 108 คน ของสหกรณ์จังหวัดเชียงใหม่ถูกสุ่มคัดเลือกจากสามอำเภอ โดยใช้เกณฑ์ระดับประสบการณ์การทำการเกษตรในการปรับเปลี่ยนเป็นเกษตรอินทรีย์ในรอบการผลิตปีพ.ศ. 2556 รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้างและประชุมกลุ่มผู้เกี่ยวข้อง การเก็บข้อมูลตั้งแต่เดือนมกราคมถึงเมษายน ปีพ.ศ. 2556 การปรับตัวในการทำเกษตรอินทรีย์ใช้ค่ามาตรวัด 3 ระดับ นอกจากนั้นยังใช้การวิเคราะห์สถิติเชิงพรรณนาได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าสูงสุด ค่าต่ำสุดและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานและการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ข้างต้น ผลจากการศึกษาพบว่าเกษตรกรในสามพื้นที่ทีทำการศึกษามีประสบการณ์ในการผลิตผักอินทรีย์ ใช้หลักเกษตรอินทรีย์ในการผลิต เช่น การเตรียมดิน การเตรียมเมล็ด ประเภทของผัก วิธีการปลูก การจัดการธาตุอาหาร การจัดการแมลง การจัดการศัตรูพืช และการเก็บเกี่ยว ข้อจำกัดหรืออุปสรรคที่เกิดขึ้นในการทำการเกษตรขนาดเล็กจากการทำเกษตรอินทรีย์ที่พบประกอบไปด้วย: อุปสรรคทางเศรษฐกิจ ชีวกายภาพ และความรู้ ผลการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแสดงให้เห็นว่า อายุ ระดับการศึกษา แรงงานในครัวเรือน รายได้จากการเกษตร และการส่งเสริมการเกษตร มีส่วนสำคัญอย่างมากต่อการรับรู้ของเกษตรกรในการผลิตผักอินทรีย์ นอกจากนี้ ระดับการศึกษา ประสบการณ์ แหล่งน้ำธรรมชาติและการเข้าร่วมเป็นเครือข่ายเกษตรกรหรือสมาชิกเกษตรกรมีส่วนสำคัญเป็นอย่างยิ่งต่อการปรับตัวในการผลิตผักอินทรีย์ของเกษตรกร กล่าวโดยสรุป ปัจจุบันนี้การลดการใช้สารเคมีในการผลิตเป็นอีกแนวทางหนึ่งในการทำการเกษตรของเกษตรกร การรับรู้และปรับตัวสู่การผลิตผักอินทรีย์มีพื้นฐานจากการจัดการทุน 5 ด้าน เช่น ทุนทรัพยากรธรรมชาติ ทุนกายภาพ ทุนมนุษย์ ทุนทางเศรษฐกิจและทุนทางสังคม ซึ่งถือว่าเป็นปัจจัยหลักในการดำรงชีวิตอย่างยั่งยืน ดังนั้นการนำไปใช้ในการส่งเสริมและผู้วางแผนด้านนโยบายของภาครัฐด้านการทำเกษตรอินทรีย์จึงควรพิจารณาฐานทุนทั้ง 5 ด้าน ที่เป็นปัจจัยหลักต่อการปรับตัวและการรับรู้ของเกษตรกรในการทำเกษตรอินทรีย์ที่นำไปสู่ความยั่งยืนของวิถีชีวิตเกษตรกรen_US
Appears in Collections:AGRI: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdf ABSTRACT300.35 kBAdobe PDFView/Open
APPENDIX.pdf APPENDIX498.98 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 1.pdfCHAPTER 1430.83 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 2.pdf CHAPTER 2504.93 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 3.pdf CHAPTER 3340.02 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 4.pdf CHAPTER 41.62 MBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 5.pdf CHAPTER 5334.74 kBAdobe PDFView/Open
CONTENT.pdf CONTENT623.07 kBAdobe PDFView/Open
COVER.pdf COVER748.34 kBAdobe PDFView/Open
REFERENCE.pdfREFERENCE331.59 kBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.