Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39899
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอาจารย์ ดร.พนม กุณาวงค์-
dc.contributor.authorนรรศนันท์ ปัญญาen_US
dc.date.accessioned2017-07-12T03:22:19Z-
dc.date.available2017-07-12T03:22:19Z-
dc.date.issued2557-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39899-
dc.description.abstractThis independent study aimed 1) to study the operational efficiency of the ASEAN Promotion Campaign Project of the Public Relations Department Region 3, and 2) find the problems and obstacles as well as obtaining suggestions for improving this campaign project. This study comprised a research survey with data obtained from 320 people, who continually followed the ASEAN Promotion Campaign Project. In addition, six officials responsible for the project were interviewed. The data analysis was carried out with descriptive statistics of frequency, percentage, mean and standard deviation with detailed explanations. Interview data were analyzed by means of descriptive analysis. The findings were as follows: 1) The quantitative study found that, overall, television and radio broadcasting satisfied its audience at the high level regarding information about the ASEAN Promotion Campaign Project. The overall level of understanding about the operation of this project also was high. 2) The qualitative study found that the project operated at the good level, based on structured interviews with officials responsible for it. As this was its first year of operation, the project was designed to educate the public with basic knowledge about the ASEAN Community. 3) The studied audiences had ideas and suggestions that included, for example: the content of the ASEAN community should be of practical use, and up-to-date; the presentations should be improved so that they would be more interesting and diverse. In addition, opportunities for students to participate in the campaign programs should be increased; and they should also be allowed to participate as an announcer. More campaign programs should be held off-site, while their show times should be increased.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectสำนักประชาสัมพันธ์เขต 3en_US
dc.subjectสมาคมอาเซียนen_US
dc.titleการประเมินผลโครงการประชาสัมพันธ์ประชาคมอาเซียน ของสำนักประชาสัมพันธ์เขต 3en_US
dc.title.alternativeEvaluation of the ASEAN Promotion Campaign Project of the Public Relations Department Region 3en_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc341.2473-
thailis.controlvocab.thashสำนักประชาสัมพันธ์เขต 3-
thailis.controlvocab.thashสมาคมอาเซียน-
thailis.controlvocab.thashการประชาสัมพันธ์-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 341.2473 น177ก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์คือ 1) เพื่อศึกษาถึงผลการดำเนินงานของโครงการประชาสัมพันธ์ประชาคมอาเซียนของสำนักประชาสัมพันธ์เขต 3 2) เพื่อศึกษาถึงปัญหาและอุปสรรค ตลอดจนข้อเสนอแนะแนวทางแก้ไขปรับปรุงการดำเนินงานตามโครงการประชาสัมพันธ์ประชาคมอาเซียนของสำนักประชาสัมพันธ์เขต 3 การศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) โดยเก็บข้อมูลจากกลุ่มผู้ติดตามข้อมูลข่าวสารการประชาสัมพันธ์ประชาคมอาเซียนจากสื่อในสังกัดอย่างต่อเนื่อง ของสำนักประชาสัมพันธ์เขต 3 จำนวน 320 คน และการสัมภาษณ์คณะผู้รับผิดชอบโครงการประชาสัมพันธ์ประชาคมอาเซียนของสำนักประชาสัมพันธ์เขต 3 จำนวน 6 คน ผู้ศึกษาทำการเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลโดยแสดงผลในรูปตารางการแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานประกอบคำบรรยาย และใช้วิธีการวิเคราะห์เชิงพรรณนา บรรยายสรุปเป็นประเด็นโดยอาศัยข้อมูล จากการสัมภาษณ์ ผลการศึกษาสรุปได้ดังนี้ 1) ผลการศึกษาเชิงปริมาณ พบว่า ในภาพรวมของความคิดเห็นต่อลักษณะการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารของโครงการประชาสัมพันธ์ประชาคมประชาคมอาเซียนของสำนักประชาสัมพันธ์เขต 3 ผ่านสื่อโทรทัศน์และสื่อวิทยุกระจายเสียง มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก และในภาพรวมของระดับความเข้าใจต่อการดำเนินงานโครงการประชาสัมพันธ์ประชาคมอาเซียน มีความรู้ความเข้าใจอยู่ในระดับมาก 2) ผลการศึกษาเชิงคุณภาพ พบว่า จากการสัมภาษณ์ด้วยแบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างกับคณะผู้รับผิดชอบโครงการประชาสัมพันธ์ประชาคมอาเซียนของสำนักประชาสัมพันธ์เขต 3 พบว่า ลักษณะการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารในด้านต่างๆ มีการดำเนินงานอยู่ในระดับดี และเนื่องจากเป็น การเริ่มดำเนินการโครงการในปีแรก จึงเป็นการส่งเสริมความรู้ให้กับประชาชนในภาพกว้าง เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายทุกระดับมีความเข้าใจที่ตรงกันเกี่ยวกับความรู้พื้นฐานของประชาคมอาเซียน 3) กลุ่มผู้ติดตามข้อมูลข่าวสารโครงการประชาสัมพันธ์ประชาคมอาเซียน มีข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะในด้านต่างๆ เช่น ควรมีเนื้อหาการประชาสัมพันธ์ที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้อย่างแท้จริงและควรมีการนำเสนอเนื้อหาที่ทันสมัย ควรปรับปรุงรูปแบบการประชาสัมพันธ์ให้มี ความน่าสนใจและหลากหลายมากขึ้น เปิดโอกาสให้นักเรียนนักศึกษาได้มีส่วนร่วมในรายการมากขึ้นควรมีการจัดรายการนอกสถานที่มากขึ้น ควรให้นักเรียน นักศึกษาได้ร่วมเป็นผู้ประกาศข่าวรายการอาเซียน และควรมีการเพิ่มช่วงเวลาการการประชาสัมพันธ์มากขึ้นen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdfABSTRACT285.86 kBAdobe PDFView/Open
APPENDIX.pdf APPENDIX1.19 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 1.pdfCHAPTER 1288.65 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 2.pdf CHAPTER 2534.41 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 3.pdfCHAPTER 3264.5 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 4.pdf CHAPTER 4405.81 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 5.pdf CHAPTER 5393.82 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CONTENT.pdfCONTENT146.18 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
COVER.pdf COVER455.96 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
REFERENCE.pdf REFERENCE376.88 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.